คำอธิบาย
🍭โดย: รองอำมาตย์เอก สุย ปริกสุวรรณ (ผู้พิพากษา และ ทนายความ)
🍭ผู้เรียบเรียง: วารินทร์ สารสินพิทักษ์
🍭รหัสสินค้า: 9786166089639
บทคัดย่อ/สารบัญ
คำนำผู้จัดทำ
คำนิยม
คำนำผู้ประพันธ์
ประวัติผู้ประพันธ์
บทที่ ๑ ข้อความเบื้องต้น
บทที่ ๒ การเตรียมคดี
บทที่ ๓ การฟ้องร้อง
หมวดที่ ๑ การเขียนฟ้อง
บทที่ ๔ คำให้การ
หมวดที่ ๑ วิธีให้การหรือเขียนคำให้การ
บทที่ ๕ การจัดคดี
บทที่ ๖ ประเด็นและข้อความที่เกี่ยวกับประเด็น
บทที่ ๗ หน้าที่นำสืบ
บทที่ ๘ นัดชี้สองสถานและแถลงในวันนัดชี้สองสถาน
บทที่ ๙ ว่าด้วยการสืบพยาน
หมวดที่ ๑ ข้อถาม
หมวดที่ ๒ ข้อค้าน
หมวดที่ ๓ การถามค้าน
หมวดที่ ๔ ข้อติง
บทที่ ๑๐ การแถลงคดี
หมวดที่ ๑ การเตรียมตัวแถลงคดี
หมวดที่ ๒ การแถลงคดีทั่วไป
หมวดที่ ๓ การแถลงเปิดคดี
หมวดที่ ๔ การแถลงนำเรื่องนำพยานสืบ
หมวดที่ ๕ การแถลงข้อค้าน
หมวดที่ ๖ การแถลงปิดสำนวน
บทที่ ๑๑ วิธีปฏิบัติเพื่อเอาประโยชน์แก่พยาน
หมวดที่ ๑ ชนิดของพยาน
๑. พยานเท็จ
๒. พยานขรึม
๓. พยานพูดอ้ำอึ้ง
๔. พยานพูดจาสะทกสะท้าน
๕. พยานตะหลบตะแลง
๖. พยานแสดงท่าเป็นคนตรง
๗. พยานเท็จและจริงระคนกัน
๘. พยานโง่เขลา
๙. พยานดันทุรัง
๑๐. วิจักขณ์พยานหรือพยานผู้อ้างตัวว่าชำนาญในการต่างๆ
๑๑. พยานโว
๑๒. พยานเจ้าพนักงาน
๑๓. พยานตำรวจ
๑๔. พยานพูดสั้นยืนยันอย่างเดียว
๑๕. พยานซ้อมคาง
๑๖. พยานเชื่อข้อความที่ตนเบิกว่าจริง
๑๗. พยานพูดเชื่องช้า
๑๘. พยานหน้าเป็น
๑๙. พยานซื่อและพยานสุจริต
๒๐. พยานไม่ชอบพูดเหมือนคนอื่นหรือชอบพูดขัดคนอื่น
๒๑. พยานรับสมอ้างเข้าเบิกความ
๒๒. พยานนักสืบ
๒๓. พยานนักโทษ
๒๔. พยานแพทย์
๒๕. พยานผู้ชำนาญในการพิสูจน์ลายมือ
๒๖. พยานเจ้าพนักงานแผนที่
หมวดที่ ๒ วิธีซักถามพยานฐานที่ที่เท็จ
บทที่ ๑๒ ข้อความเบ็ดเตล็ดที่หมอความควรระลึก