คำอธิบาย
🥕ผู้เขียน: ศาสตราจารย์ ดร. ดาราพร ถิระวัฒน์
🥕รหัสสินค้า: 9786164041295
บทคัดย่อ/สารบาญ
บทที่ ๑ บทนำ
๑. ความหมายของ “หนี้”
๒. ประเภทของหนี้
๓. ลักษณะความผูกพันของลูกหนี้
๔. ลักษณะของสิทธิทางหนี้
๕. ความแตกต่างระหว่างสิทธิทางหนี้และทรัพยสิทธิ
๖. รากฐานความสัมพันธ์ทางหนี้ : การใช้สิทธิโดยสุจริต
บทที่ ๒ วัตถุแห่งหนี้
๑. กรณีทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้เป็นทรัพย์ที่ไม่แน่นอน
๒. กรณีหนี้เงิน
๓. กรณีการอันพึงชำระหนี้มีหลายอย่าง
บทที่ ๓ หลักความรับผิดของลูกหนี้
๑. หลักเกณฑ์การใช้สิทธิเรียกร้องให้ลูกหนี้ชำระหนี้
๒. หลักการผิดนัดของลูกหนี้
๓. หลักความรับผิดของลูกหนี้ที่ไม่ชำระหนี้
๔. หลักการบังคับชำระหนี้
บทที่ ๔ หลักการชำระหนี้เป็นพ้นวิสัย
๑. ความหมายของการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
๒. การพิจารณาลักษณะการพ้นวิสัยตามวัตถุแห่งหนี้
๓. ผลตามกฎหมายเมื่อการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
บทที่ ๕ หลักการคุ้มครองสิทธิเจ้าหนี้
๑. หลักการใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
๒. หลักการเพิกถอนการฉ้อฉล
๓. หลักของสิทธิยึดหน่วง
บทที่ ๖ การรับช่วงสิทธิ และการช่วงทรัพย์
๑. การรับช่วงสิทธิ
๒. การช่วงทรัพย์
บทที่ ๗ การโอนสิทธิเรียกร้อง
๑. ลักษณะของการโอนสิทธิเรียกร้อง
๒. ประเภทของสิทธิเรียกร้อง
๓. วิธีการโอนสิทธิเรียกร้อง
๔. ผลของการโอนสิทธิเรียกร้อง
บทที่ ๘ ความสัมพันธ์ของลูกหนี้เจ้าหนี้หลายคน
๑. หนี้ที่แบ่งกันชำระหนี้ได้
๒. หนี้ร่วม
๓. หนี้ที่แบ่งกันชำระไม่ได้
บทที่ ๙ ความระงับแห่งหนี้
๑. หลัก : การชำระหนี้
๒. ข้อยกเว้น : การระงับหนี้ในกรณีอื่นที่ไม่มีการชำระหนี้ของลูกหนี้
บทที่ ๑๐ นิติกรรมที่บุคคลภายนอกเข้าชำระหนี้ของลูกหนี้
๑. หลักการชำระหนี้โดยบุคคลภายนอก
๒. ประเภทของสัญญาที่บุคคลภายนอกตกลงเข้าชำระหนี้ของลูกหนี้
๓. สิทธิของบุคคลภายนอกในการเรียกคืนจากลูกหนี้ภายหลังที่บุคคลภายนอกชำระหนี้แล้ว
บทที่ ๑๑ บุริมสิทธิ
๑. ความหมายของบุริมสิทธิ
๒. ลักษณะของบุริมสิทธิ
๓. ประเภทของบุริมสิทธิ
๔. ลำดับแห่งบุริมสิทธิ
๕. ผลแห่งบุริมสิทธิ
บรรณานุกรม
ดัชนีคำ
ดัชนีแผนภูมิ
📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 5 : มีการเพิ่มเติมคำอธิบายเป็นข้อพิจารณาเกี่ยวกับกฎหมายหนี้หลักทั่วไป ซึ่งบางส่วนจะอยู่ในเนื้อหาของคำอธิบายของตัวบทบัญญัติ บางส่วนอยู่ที่เชิงอรรถต่าง ๆ เพื่อการทำความเข้าใจหลักกฎหมายหนี้ได้ชัดเจนขึ้น และมีการเพิ่มเติมคำพิพากษาฎีกาที่คัดสรรมาเป็นตัวอย่างเพื่ออธิบายประกอบการปรับใช้หลักกฎหมายของศาลด้วย คำพิพากษาฎีกาเพิ่มเติมจนถึงปี 2566