Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คำอธิบายกฎหมายลักษณะตั๋วเงิน

฿ 427.50

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 960 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ศาสตราจารย์พิเศษไพฑูรย์ คงสมบูรณ์

รหัสสินค้า

9789742039400

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

528

พิมพ์ครั้งที่

6 : มกราคม 2567

สินค้าหมดแล้ว

รหัสสินค้า: 9789742039400 หมวดหมู่: , Product ID: 47854

รายละเอียดเพิ่มเติม

🍨ผู้เขียน: ศาสตราจารย์พิเศษไพฑูรย์ คงสมบูรณ์
🍨รหัสสินค้า: 9789742039400

 

สารบัญ
🍮 ข้อความเบื้องต้น
๑. ประวัติและความเป็นมาของกฎหมายลักษณะตั๋วเงิน
๒. ชนิดและประโยชน์ของตั่วเงิน
🍮 หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
๑. ลักษณะทั่วไปของสัญญาตั๋วเงิน

๒. ความรับผิดตามสัญญาตั๋วเงินเกิดขึ้นเพราะการลงลายมือชื่อในตั๋วเงิน
๓. การใช้เงินตามตั๋วเงินต้องทำเมื่อตั๋วเงินถึงกำหนดโดยมิให้ให้วันผ่อน
๔. ผู้ทรงตั๋วเงิน
🍮 หมวด ๒ ตั๋วแลกเงิน
ส่วนที่ ๑ การออกและสลักหลังตั๋วแลกเงิน
๑. การออกตั๋วแลกเงิน

๒. การสลักหลังตั๋วแลกเงิน
๓. ความรับผิดของผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังตั๋วแลกเงิน
๔. ข้อกำหนดลบล้างหรือจำกัดความรับผิดของผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลัง
๕. ข้อต่อสู้ที่ผู้สั่งจ่ายหรือผู้สลักหลังจะยกขึ้นอ้างเพื่อใช้ยันผู้ทรงตั๋วแลกเงินไม่ได้
ส่วนที่ ๒ การรับรอง

๑. ความหมายและสาเหตุของการยื่นตั๋วแลกเงินเพื่อให้ผู้จ่ายทำการรับรอง
๒. วิธีการยื่นตั๋วแลกเงินเพื่อให้ผู้จ่ายรับรอง
๓. วิธีและผลของการรับรองตั๋วแลกเงิน
ส่วนที่ ๓ อาวัล
๑. ความหมาย
๒. บุคคลผู้จะเข้าเป็นผู้รับอาวัลและแบบวิธีของการอาวัล
๓. ผลบังคับของการอาวัล
๔. ข้อแตกต่างบางประการระหว่างการรับอาวัลการใช้เงินตามตั๋วเงินกับการค้ำประกันการชำระหนี้อื่น ๆ
ส่วนที่ ๔ การใช้เงิน
๑. ผู้ทรงต้องยื่นตั๋วแลกเงินเพื่อให้ใช้เงินเมื่อตั๋วถึงกำหนดใช้เงิน
๒. ผลของการยื่นและไม่ยื่นตั๋วแลกเงินเพื่อให้ผู้จ่ายหรือผู้รับรองใช้เงิน
๓. หลักเกณฑ์และผลแห่งการใช้เงินตามตั๋วแลกเงิน
ส่วนที่ ๕ การสอดเข้าแก้หน้า
๑. ความหมายและจุดมุ่งหมายของการสอดเข้าแก้หน้า
๒. บุคคลที่จะเข้ามาเป็นผู้สอดเข้าแก้หน้า
๓. ประเภทของการสอดเข้าแก้หน้า
ส่วนที่ ๖ สิทธิไล่เบี้ยเพราะเขาไม่รับรองหรือไม่ใช้เงิน
๑. ความหมายและวัตถุประสงค์ของการใช้สิทธิไล่เบี้ย
๒. หลักเกณฑ์และวิธีการในการใช้สิทธิไล่เบี้ย
๓. บุคคลผู้มีสิทธิไล่เบี้ยและอาจถูกไล่เบี้ยและความรับผิดของลูกหนี้เมื่อผู้ทรงใช้สิทธิไล่เบี้ย
๔. จำนวนเงินที่ผู้ทรงอาจไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้และความรับผิดในระหว่างลูกหนี้ด้วยกันเองภายหลังที่ถูกผู้ทรงไล่เบี้ย
๕. กรณีผู้ทรงสิ้นสิทธิไล่เบี้ย
๖. แม้ผู้ทรงสิ้นสิทธิไล่เบี้ยตามกฎหมายลักษณะตั๋วเงิน แต่ผู้ทรงยังอาจใช้สิทธิเรียกร้องให้ชำระหนี้ตามมูลหนี้เดิมได้
ส่วนที่ ๗ ตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ
๑. ความหมายและความประสงค์ในการออกตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ
๒. สิทธิของผู้ทรงในการเรียกให้ผู้สั่งจ่ายออกตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ
๓. การสลักหลังตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ
๔. การรับรองตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ
๕. การใช้เงินตามตั๋วแลกเงินเป็นสำรับ
๖. ประโยชน์ของตั๋วแลกเงินเป็นสำรับกับการค้าระหว่างประเทศ
🍮 หมวด ๓ ตั๋วสัญญาใช้เงิน
๑. ลักษณะของตั๋วสัญญาใช้เงิน

๒. รายการที่ต้องปรากฏในตั๋วสัญญาใช้เงิน
๓. บทบัญญัติในเรื่องตั๋วแลกเงินที่นำมาใช้บังคับกับตั๋วสัญญาใช้เงิน
๔. บทบัญญัติที่ใช้บังคับกับตั๋วสัญญาใช้เงินซึ่งให้ใช้เงินในเวลาใดเวลาหนึ่งภายหลังได้เห็น
๕. ความรับผิดของผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน
🍮 หมวด ๔ เช็ค
๑. ลักษณะทั่วไปของเช็ค
๒. การขอเปิดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันและนิติสัมพันธ์ระหว่างธนาคารผู้ใช้เงินตามเช็คกับผู้เคยค้า
๓. รายการต่าง ๆ ในเช็ค
๔. บทบัญญัติในเรื่องตั๋วแลกเงินที่นำมาใช้บังคับกับเช็ค
๕. กำหนดเวลาที่ผู้ทรงจะต้องยื่นเช็คทวงถามเพื่อให้ธนาคารใช้เงิน
๖. ธนาคารต้องใช้เงินตามเช็คที่ผู้เคยค้าออกเบิกแก่ตน
๗. ความรับผิดในทางแพ่งของคู่สัญญาที่ลงลายมือชื่อในเช็ค
๘. เช็คขีดคร่อม
🍮 หมวด ๕ อายุความ
๑. อายุความที่ผู้ทรงจะฟ้องผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน ผู้รับรองตั๋วแลกเงิน

๒. อายุความที่ผู้ทรงจะฟ้องผู้สั่งจ่ายและผู้สลักหลังตั๋วเงิน
๓. อายุความที่ผู้ทรงจะฟ้องผู้รับอาวัลและผู้รับรองเข้าแก้หน้า
๔. อายุความที่ผู้สลักหลังฟ้องไล่เบี้ยเอากับผู้สลักหลังด้วยกันเองหรือฟ้องไล่เบี้ยผู้สั่งจ่าย
๕. กรณีไม่สามารถยื่นฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตอำนาจเหนือคดีดังกล่าวได้ โดยมีเหตุสุดวิสัย
๖. อายุความสะดุดหยุดลงมีผลเฉพาะตัวคู่สัญญาฝ่ายนั้นเท่านั้น
๗. หนี้ตามตั๋วเงินขาดอายุความ เจ้าหนี้ฟ้องตามมูลหนี้เดิมได้
🍮 หมวด ๖ ตั๋วเงินปลอม ตั๋วเงินถูกลักและตั๋วเงินหาย
ส่วนที่ ๑ ตั๋วเงินปลอม
๑. ตั๋วเงินปลอมเพราะมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อความอันเป็นรายการสำคัญในตั๋วเงิน

๒. ตั๋วเงินปลอมอันเกิดจากการปลอมลายมือชื่อหรือลายมือชื่อที่ลงไว้นั้นเป็นลายมือชื่อที่ลงโดยปราศจากอำนาจ
ส่วนที่ ๒ ตั๋วเงินหาย ตั๋วเงินถูกลัก
ดรรชนีค้นเรื่อง
บรรณานุกรม

📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 6 : ไม่มีการปรับปรุงหรือแก้ไขเนื้อหาจากพิมพ์ครั้งที่ 5