Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

หลักกฎหมายลักษณะมรดก ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

Original price was: ฿ 430.00.Current price is: ฿ 408.50.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 750 กรัม
ขนาด 26 × 18.4 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ดร. ธนภัทร ชาตินักรบ

รหัสสินค้า

9786164884083

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

378

พิมพ์ครั้งที่

1 : กันยายน 2566

มีสินค้าอยู่ 3

รหัสสินค้า: 9786164884083 หมวดหมู่: , Product ID: 81159

คำอธิบาย

🍭ผู้เขียน: ดร. ธนภัทร ชาตินักรบ
🍭รหัสสินค้า: 9786164884083

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
บทนำ
🍭บทที่ 1 การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก (มาตรา 1599-1602)
1. กองมรดก
2. ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดต่าง ๆ ของผู้ตาย
3. ข้อยกเว้น
🍭บทที่ 2 การเป็นทายาทและสิทธิโดยธรรมในการรับมรดก (มาตรา 1603-1604, 1610-1611 และ 1620-1621)
1. ประเภทของทายาท
2. คุณสมบัติของทายาท
3. ทายาทที่บกพร่องในความสามารถ
4. สิทธิโดยธรรมในการรับมรดกของทายาท
🍭บทที่ 3 พระภิกษุ (มาตรา 1622-1624)
1. การเป็นทายาทโดยธรรมของพระภิกษุ
2. ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างที่อยู่ในสมณเพศ
3. ทรัพย์สินที่ได้มาก่อนการอุปสมบท
🍭บทที่ 4 ทายาทโดยธรรม (มาตรา 1627 และ 1629)
1. ผู้สืบสันดาน
2. บิดามารดา
3. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
4. พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
5. ปู่ ย่า ตา ยาย
6. ลุง ป้า น้า อา
7. คู่สมรส
🍭บทที่ 5 การแบ่งส่วนมรดกของทายาทโดยธรรมในลำดับชั้นต่าง ๆ (มาตรา 1513-1517, 1625-1626, 1628, 1630-1633 และ 1635-1638)
1. การคิดส่วนแบ่งและปันทรัพย์สินระหว่างผู้ตายและคู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่
2. การคิดส่วนแบ่งทรัพย์มรดกระหว่างทายาทโดยธรรม
🍭บทที่ 6 การเสียไปซึ่งสิทธิแห่งทรัพย์มรดก (มาตรา 1605-1609 และ 1612-1619)
1. การถูกกำจัดมิให้รับมรดก
2. การตัดมิให้รับมรดก
3. การสละมรดก
🍭บทที่ 7 การรับมรดกแทนที่กัน (มาตรา 1634 และ 1639-1645)
1. หลักเกณฑ์การรับมรดกแทนที่
2. การรับมรดกแทนที่คนสาบสูญ
3. ข้อพิจารณาของการรับมรดกแทนที่
4. สิทธิที่จะได้รับมรดกแทนที่
🍭บทที่ 8 พินัยกรรม ผู้ทำพินัยกรรม และผู้รับพินัยกรรม (มาตรา 1646-1648, 1651-1652 และ 1654)
1. ลักษณะพินัยกรรม
2. วิธีการแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตาย
3. ประเภทผู้รับพินัยกรรม
4. ความสามารถของผู้ทำพินัยกรรม
5. ความสามารถของผู้รับพินัยกรรม
🍭บทที่ 9 ผู้เขียนและพยานในพินัยกรรม (มาตรา 1653, 1665-1666, 1668 และ 1670-1672)
1. ผู้เขียนพินัยกรรม
2. พยานในพินัยกรรม
3. การออกกฎกระทรวง
🍭บทที่ 10 แบบพินัยกรรม (มาตรา 1655-1664, 1667 และ 1669)
1. พินัยกรรมแบบธรรมดา
2. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
3. พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
4. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
5. พินัยกรรมด้วยวาจา
6. พินัยกรรมในต่างประเทศ
7. พินัยกรรมของผู้ที่รับราชการเป็นทหารหรือเกี่ยวข้องในระหว่างที่ประเทศอยู่ในภาวะการรบ
🍭บทที่ 11 ผลข้อกำหนดพินัยกรรม และการตีความแห่งพินัยกรรม (มาตรา 1673-1685 และ 1696)
1. ผลบังคับแห่งพินัยกรรม
2. ข้อกำหนดพินัยกรรมมีเงื่อนไขและเงื่อนเวลา
3. การเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินซึ่งเป็นวัตถุแห่งพินัยกรรม
4. ผลของพินัยกรรมที่ทำขึ้นเพื่อปลดหนี้หรือโอนสิทธิเรียกร้อง
5. พินัยกรรมที่ทำให้แก่เจ้าหนี้ของตน
6. การตีความพินัยกรรม
7. การกำหนดผู้รับพินัยกรรมโดยคุณสมบัติ
🍭บทที่ 12 พินัยกรรมที่ตั้งผู้ปกครองทรัพย์ (มาตรา 1686-1692)
1. การก่อตั้งทรัสต์
2. ผู้ปกครองทรัพย์
🍭บทที่ 13 การเพิกถอน การตกไป และความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม (มาตรา 1693-1710)
1. การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
2. การตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
3. ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
🍭บทที่ 14 ผู้จัดการมรดก (มาตรา 1649-1650, 1711-1733 และ 1736)
1. วิธีการตั้งผู้จัดการมรดก
2. ผู้จัดการมรดกเพื่อการเฉพาะ
3. จำนวนผู้จัดการมรดก
4. การเริ่มต้นหน้าที่ผู้จัดการมรดกที่ศาลตั้ง
5. การสอบถามความประสงค์ของผู้ที่ถูกตั้งเป็นผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม
6. บุคคลที่ถูกห้ามเป็นผู้จัดการมรดก
7. สิทธิและหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
8. ความผูกพันของทายาทต่อบุคคลภายนอก
9. การสิ้นสุดการเป็นผู้จัดการมรดก
10. อายุความฟ้องคดีจัดการมรดก

🍭บทที่ 15 การรวบรวมจำหน่ายทรัพย์มรดกเป็นตัวเงิน การชำระหนี้กับแบ่งปันทรัพย์มรดก และการแบ่งมรดก (มาตรา 1734-1752)
1. การขอรับชำระหนี้จากกองมรดก
2. การบังคับสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้กองมรดก
3. การแบ่งมรดก
🍭บทที่ 16 มรดกที่ไม่มีผู้รับ และอายุความ (มาตรา 1753-1755)
1. มรดกที่ไม่มีผู้รับ
2. อายุความ
บรรณานุกรม
ดัชนีคำ
ประวัติผู้เขียน