Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

(ส.ป.ก.) พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘

Original price was: ฿ 560.00.Current price is: ฿ 532.00.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 1180 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

รหัสสินค้า

9786168314135

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

616

พิมพ์ครั้งที่

มิถุนายน 2566

มีสินค้าอยู่ 3

รหัสสินค้า: 9786168314135 หมวดหมู่: , Product ID: 75301

คำอธิบาย

🌶️ ผู้รวบรวม: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
🌶️ รหัสสินค้า: 9786168314135

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘
🍨 บทที่ ๑ บททั่วไป
๑. ชื่อพระราชบัญญัติ (มาตรา ๑)
๒. วันใช้บังคับ (มาตรา ๒)
๓. กฎหมาย กฎและข้อบังคับที่ขัดหรือแย้ง (มาตรา ๓)
๔. คำจำกัดความ (มาตรา ๔)
๕. รัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติ (มาตรา ๕)
🍨 บทที่ ๒ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
๑. การจัดตั้งสำนักงาน (มาตรา ๖)
๒. ฐานะ ส.ป.ก. (มาตรา ๗)
๓. อำนาจหน้าที่ ส.ป.ก. (มาตรา ๘)
๔. การจัดตั้งกองทุน (มาตรา ๙)
๕. องค์ประกอบกองทุน (มาตรา ๑๐)
๖. การจัดตั้งสำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัด (มาตรา ๑๑)
🍨 บทที่ ๓ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมและคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด
๑. องค์ประกอบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (มาตรา ๑๒)
๒. องค์ประกอบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด (มาตรา ๑๓)
๓. วาระการดำรงตำแหน่ง (มาตรา ๑๔)
๔. บทต้องห้ามคณะกรรมการฯ (มาตรา ๑๕)
๕. การพ้นจากตำแหน่ง (มาตรา ๑๖)
๖. การประชุมคณะกรรมการฯ (มาตรา ๑๗ – ๑๘)
๗. อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบคณะกรรมการฯ (มาตรา ๑๙)
๘. อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของสำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัด (มาตรา ๒๐ – ๒๑)
๙. รายงานการรับจ่ายเงิน ส.ป.ก. (มาตรา ๒๒)
๑๐. หลักเกณฑ์การเข้าตรวจสอบการประกอบเกษตรกรรม (มาตรา ๒๓)
๑๑. กำหนดให้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (มาตรา ๒๔)
🍨 บทที่ ๔ การดำเนินการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
๑. การกำหนดเขตที่ดิน (มาตรา ๒๕)
๒. ที่ดินแปลงเล็กแปลงน้อยและมิได้อยู่ในเขตปฏิรูปที่ดิน (มาตรา ๒๕ ทวิ)
๓. ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินและที่ดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ที่นำมาใช้ในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (มาตรา ๒๖)
๔. อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อมีพระราชกฤษฎีกากำหนดการปฏิรูปที่ดิน (มาตรา ๒๗)
๕. ห้ามจำหน่ายหรือก่อให้เกิดภาระติดพันในที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน (มาตรา ๒๘)
๖. หลักการจัดการที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (มาตรา ๒๙ – ๓๑)
๗. สิทธิการเช่าของผู้เช่าที่ดินสิ้นสุดลง (มาตรา ๓๒)
๘. พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งเจ้าของที่ดินที่อยู่ในเขตปฏิรูปที่ดิน (มาตรา ๓๓)
๙. การเวนคืนที่ดินนำกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์มาใช้บังคับโดยอนุโลม (มาตรา ๓๔)
๑๐. การชำระราคาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์หรือค่าทดแทน (มาตรา ๓๕)
๑๑. การกำหนดค่าทดแทน (มาตรา ๓๖)
๑๒. ที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ ส.ป.ก. เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ (มาตรา ๓๖ ทวิ)
๑๓. ห้ามยกอายุความครอบครองเป็นข้อต่อสู้กับ ส.ป.ก. (มาตรา ๓๗)
๑๔. ส.ป.ก. ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน (มาตรา ๓๘)
๑๕. ห้ามแบ่งแยกและโอนสิทธิในที่ดินไปยังผู้อื่น (มาตรา ๓๙)
🍨 บทที่ ๕ อุทธรณ์และบทกำหนดโทษ
๑. ระยะเวลายื่นอุทธรณ์ (มาตรา ๔๐)
๒. คณะกรรมการอุทธรณ์ (มาตรา ๔๑)
๓. อำนาจหน้าที่คณะกรรมการอุทธรณ์ (มาตรา ๔๒)
๔. การแต่งตั้งอนุกรรมการ (มาตรา ๔๓)
๕. วาระการดำรงตำแหน่ง (มาตรา ๔๔)
๖. การประชุม (มาตรา ๔๕)
๗. หลักเกณฑ์ และวิธีการยื่นอุทธรณ์และวินิจฉัย (มาตรา ๔๖)
๘. บทกำหนดโทษ (มาตรา ๔๗ – ๔๘)
🍨 บทที่ ๖ คำพิพากษา และคำสั่งศาลปกครองสูงสุด
🍨 บทที่ ๗ ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดก สิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อ และการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. ระเบียบ (ข้อ ๑)
๒. วันใช้บังคับ (ข้อ ๒)
๓. ระเบียบที่ยกเลิก (ข้อ ๓)
🍨 บทที่ ๘ คำจำกัดความ
๑. คำจำกัดความ (ข้อ ๔) ความหมาย หลักเกณฑ์
๒. ผู้รักษาการตามระเบียบ (ข้อ ๕)
🍨 บทที่ ๙ การคัดเลือกเกษตรกรซึ่งจะมีสิทธิได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
๑. ที่ดินที่นำมาปฏิรูป (ข้อ ๖)
๒. การกำหนดแผนงาน โครงการ เนื้อที่และแผนผัง (ข้อ ๗ – ๘)
– หลักเกณฑ์
๓. คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิยื่นคำขอ (ข้อ ๙)
– หลักเกณฑ์
🍨 บทที่ ๑๐ หลักเกณฑ์ วิธีการ และขั้นตอนการคัดเลือกและจัดที่ดิน
– หลักเกณฑ์ (ข้อ ๑๐ – ๑๕)
🍨 บทที่ ๑๑ การอุทธรณ์
– หลักเกณฑ์ (ข้อ ๑๖ – ๑๘)
🍨 บทที่ ๑๒ การโอนและการตกทอดทางมรดก การเช่าหรือเช่าซื้อที่ดินในการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
– หลักเกณฑ์ (ข้อ ๑๙ – ๒๗)
🍨 บทที่ ๑๓ การจัดที่ดินแทนที่เกษตรกรผู้ได้รับที่ดินโดยได้รับอนุญาตให้ได้รับการจัดให้เข้าทำประโยชน์ซึ่งสละสิทธิหรือถึงแก่ความตาย
– หลักเกณฑ์ (ข้อ ๒๘ – ๓๘)
🍨 บทที่ ๑๔ การออกหลักฐานยืนยันคำสั่งอนุญาตให้ได้รับการจัดให้เข้าทำประโยชน์และการจัดทำสัญญา
– หลักเกณฑ์ (ข้อ ๓๙ – ๔๓)
🍨 บทที่ ๑๕ การแก้ไขเพิ่มเติม
– หลักเกณฑ์ (ข้อ ๔๔ – ๔๗)
🍨 บทที่ ๑๖ การยกเลิก เพิกถอน
๑. หลักเกณฑ์ (ข้อ ๔๘ – ๕๒)
๒. การออกใบแทน (ข้อ ๕๓)
๓. บทเฉพาะกาล (ข้อ ๕๔ – ๕๙)
ภาคผนวก
๑. พระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘
๒. ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการคัดเลือกและการจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอนหรือตกทอดทางมรดก สิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อ และการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. ๒๕๖๔
๓. กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๑๙) ออกตามความในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘
๔. กฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๖) ออกตามความในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘
๕. กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๒๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘
๖. ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน พ.ศ. ๒๕๓๕
๗. ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๐
๘. ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยการให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับที่ดินจากการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔
๙. ตัวอย่าง คำฟ้อง : คำให้การ