คำอธิบาย
📍 ผู้เขียน: ไพโรจน์ อาจรักษา
📍 รหัสสินค้า: 9789742037499
บทคัดย่อ/สารบัญ
📌 ภาค ๑ การดำเนินการทางวินัย
🍭 บทที่ ๑ บททั่วไป
🍭 บทที่ ๒ วินัย และการรักษาวินัย
๑. สนับสนุนการปกครองระบบประชาธิปไตย
๒. ข้อปฏิบัติของข้าราชการพลเรือนสามัญ
๓. ข้อห้ามของข้าราชการพลเรือนสามัญ
๔. ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
๕. หน้าที่ของผู้บังคับบัญชา
🍭 บทที่ ๓ การดำเนินการทางวินัย
๑. การดำเนินการเมื่อมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่ามีการกระทำผิดวินัย
๒. การสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต้น
๓. การดำเนินการในกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
๔.การดำเนินการในกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง
๕. กรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง
๖. การสั่งยุติเรื่อง ลงโทษ หรืองดโทษ
๗. การมีคำสั่งใหม่ กรณีมีการเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ
๘. การสั่งพักราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน
๙. การนับระยะเวลา
🍭 บทที่ ๔ การออกจากราชการ
🍭 บทที่ ๕ การอุทธรณ์
๑. ผู้มีสิทธิที่จะอุทธรณ์
๒. ระยะเวลาการอุทธรณ์
๓. การยื่นอุทธรณ์
๔. การคัดค้านกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์
๕. วิธีดำเนินการ
๖. การพิจารณาอุทธรณ์
🍭 บทที่ ๖ การร้องทุกข์
๑. เมื่อมีปัญหาความไม่เข้าใจหรือความคับข้องใจเกิดขึ้น
๒. การร้องทุกข์ในเรื่องความคับข้องใจ
๓. การร้องทุกข์
๔. การยื่นคำร้องทุกข์
๕. ระยะเวลาการร้องทุกข์
๖. การคัดค้านผู้มีอำนาจวินิจฉัยร้องทุกข์
๗. วิธีดำเนินการ
๘. การพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ของ ก.พ.ค
📌 ภาค ๒ การฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
🍭 บทที่ ๑ บททั่วไป
๑. ศาลปกครอง
๒. ลักษณะที่สำคัญของวิธีพิจารณาคดีปกครอง
🍭 บทที่ ๒ การฟ้องคดีต่อศาลปกครอง
🍭 บทที่ ๓ อำนาจศาลปกครอง
๑. โครงสร้างของศาลปกครอง
๒. เขตอำนาจศาลปกครอง
๓. อำนาจศาลปกครอง
🍭 บทที่ ๔ เงื่อนไขในการฟ้องคดีปกครอง
๑. ต้องเป็นคำฟ้องที่มีสาระสำคัญครบถ้วน
๒. ผู้ฟ้องคดีต้องเป็นผู้มีส่วนได้เสียในคดีที่ฟ้องนั้น
๓. ต้องได้ดำเนินการแก้ไขความเดือดร้อนครบขั้นตอนแล้ว
๔. เป็นคำฟ้องที่จำเป็นต้องมีคำบังคับ
๕. ต้องเป็นฟ้องที่ชำระค่าธรรมเนียมศาลโดยถูกต้อง
๖. ต้องเป็นคำฟ้องที่ไม่ขาดอายุความ
๗. ผู้ฟ้องคดีต้องเป็นผู้ที่มีความสามารถตามกฎหมาย
๘. ต้องมีคำสั่งทางปกครองหรือกฎในเรื่องที่จะมีการฟ้องคดีนั้น
๙. ต้องไม่เป็นการฟ้องซ้อน ฟ้องซ้ำ หรือดำเนินกระบวนการพิจารณาซ้ำ
🍭 บทที่ ๕ การวินิจฉัยเนื้อหาของคดี
๑. คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
๒. คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร
๓. คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำละเมิดของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
📌 ภาคผนวก
– พระราชบัญญัติระเบียบราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ (เฉพาะที่เกี่ยวข้อง)
– พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
– หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นร ๑๐๑๑/ว.๑ ลงวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๗
เรื่อง กฎ ก.พ.ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖
– หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นร ๑๐๑๑/ว.๒ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
เรื่อง กำหนดตำแหน่งประธานกรรมการตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖
– หนังสือสำนักงาน ก.พ.ที่ นร ๑๐๑๑/ว.๓ ลงวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
เรื่อง แบบตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖
– ตัวอย่างการแจ้งตำแหน่งคณะกรรมการสอบสวน
– กฎ ก.พ.ค ว่าด้วยการอุทธรณ์และการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๑
– กฎ ก.พ.ค ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑
– ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ และที่แก้ไขเพิ่มเติม