คำอธิบาย
🍡ผู้เขียน: บราลี ไอยะรา และ โชคชัย เนตรงามสว่าง
🍡รหัสสินค้า: 9786166085143
บทคัดย่อ/สารบัญ
🍮 ข้อ 1 – ข้อ 3 หลักทั่วไป และการสอบสวน
🍭 สมัยที่ 65
ข้อ 1 ผู้เสียหาย / รับมรดกคดี / ถอนคำร้องทุกข์ / สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ
ข้อ 2 การสอบสวน / การแจ้งข้อหา / การรับฟังคำสารภาพในชั้นจับกุม
ข้อ 3 อำนาจสอบสวนในการกระทำผิดหลายท้องที่ / เจ้าพนักงานพูดจูงใจฯ
🍭 สมัยที่ 66
ข้อ 1 สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ / ถอนฟ้องแล้ว ห้ามฟ้องอีก
ข้อ 2 อำนาจเรียกคืนทรัพย์สินของพนักงานฯ / สิทธิของผู้เสียหายในการขอให้ชดใช้ค่าสินไหมฯ
ข้อ 3 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในคดีความผิดต่อเนื่องที่กระทำในหลายท้องที่ / อำนาจฟ้องของพนักงานอัยการ
🍭 สมัยที่ 67
ข้อ 1 อำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย
ข้อ 2 ผู้เสียหายโดยนิตินัย / ผู้แทนโดยชอบธรรมใช้สิทธิแทนผู้เยาว์ / ค่าสินไหมทดแทนฯ
ข้อ 3 อำนาจสอบสวนเพิ่มเติมของพนักงานสอบสวน
🍭 สมัยที่ 68
ข้อ 1 ผู้เสียหาย / สิทธิในการดำเนินคดีของคนเสมือนไร้ความสามารถ / การร้องทุกข์ในคดีความผิดต่อส่วนตัว
ข้อ 2 การสอบสวนผู้ต้องการที่เป็นเด็ก / การจัดหาล่ามให้ผู้ต้องหา
ข้อ 3 การส่งสำนวนชันสูตรศพ / การนำบทบัญญัติเกี่ยวกับการสอบสวนมาใช้ในการชันสูตรพลิกศพ
🍭 สมัยที่ 69
ข้อ 1 ถอนฟ้อง / อำนาจของผู้เสียหาย
ข้อ 2 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบกรณีความผิดกระทำต่อเนื่องกันในหลายท้องที่ / ศาลที่มีเขตอำนาจพิจารณา
ข้อ 3 การสอบสวนผู้เสียหายหญิงในความผิดเกี่ยวกับเพศ / การสอบสวนพยานเด็ก
🍭 สมัยที่ 70
ข้อ 1 โอนสิทธิความเป็นผู้เสียหายในคดีอาญาได้หรือไม่ / สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ
ข้อ 2 อำนาจของอัยการสูงสุดเกี่ยวกับคดีนอกราชฯ / พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบคดีนอกราชฯ
ข้อ 3 ถอนฟ้องเพื่อฟ้องใหม่ / ดุลพินิจของศาลในการถอนฟ้อง
🍭 สมัยที่ 71
ข้อ 1 ผู้เสียหายโดยนิตินัย / บุคคลผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย / การขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ / ผู้มีสิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนฯ
ข้อ 2 การถอนคำร้องทุกข์ในคดีกรรมเดียวผิดกฎหมายหลายบท / อำนาจของศาลเมื่อคดีอาญาระงับ
ข้อ 3 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ / อัยการสั่งให้สอบสวนเพิ่มเติม
🍭 สมัยที่ 72
ข้อ 1 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในการกระทำผิดในหลายท้องที่ / ผู้เสียหายขอถอนฟ้องในคดีที่อัยการเป็นโจทก์ในคดีความผิดต่อส่วนตัว
ข้อ 2 ฟ้องซ้ำ
ข้อ 3 กรณีพนักงานอัยการและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติมีความเห็นแย้งกัน / สั่งไม่ฟ้องแล้ว / ห้ามสอบสวนเกี่ยวกับบุคคลนั้นในเรื่องเดียวกัน
🍭 สมัยที่ 73
ข้อ 1 ผู้เสียหาย / ผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหาย / การขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ
ข้อ 2 ผู้เสียหาย / การขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการ / การร้องทุกข์
ข้อ 3 ความผิดที่กระทำในหลายท้องที่ / พนักงานสอบสวนที่มีอำนาจสอบสวน และพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
🍭 สมัยที่ 74
ข้อ 1 ผู้เสียหาย / การถามปากคำผู้เสียหายที่เป็นผู้เยาว์
ข้อ 2 การถอนคำร้องทุกข์ / การยอมความในคดีความผิดต่อส่วนตัว / สิทธิการนำคดีมาฟ้องระงับ / พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
ข้อ 3 การรวบรวมพยานหลักฐาน / สิทธิของผู้ต้องหาที่จะมีทนายความ
🍭 สมัยที่ 75
ข้อ 1 คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา / ถอนคำร้องทุกข์ / คดีอาญาระงับ
ข้อ 2 พนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบกรณีเหตุเกิดหลายท้องที่เกี่ยวพันกัน / การยอมความ
ข้อ 3 การถามปากคำผู้มีสติปัญญาบกพร่อง / การสอบสวนผู้ต้องหาที่เป็นเด็ก / ผลของการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายเรื่องการสอบสวนผู้ต้องหาที่เป็นเด็ก
ฎีกาใหม่น่าสนใจที่ยังไม่เคยออกข้อสอบเนติฯ (ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นไป) (ข้อ 1 – ข้อ 3)
ข้อ 4 วิธีการพิจารณาคดีในศาลชั้นต้น
ข้อ 5 อุทธรณ์ ฎีกา
ข้อ 6 หมายเรียก หมายอาญา จับ ขัง จำคุก ค้น ปล่อยชั่วคราว
ฎีกาใหม่น่าสนใจที่ยังไม่เคยออกข้อสอบเนติฯ (ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นไป) (ข้อ 6)