คำอธิบาย
🌙 ผู้เขียน: ธีระ สุธีวรางกูร
🌙 รหัสสินค้า: 9786164884380
บทคัดย่อ/สารบัญ
บทนำ
📌 ภาคที่ ๑ : ศาลในระบบกฎหมายมหาชน
ความนำภาคที่ ๑
🥕บทที่ ๑ ความทั่วไปเกี่ยวกับศาลในทางกฎหมายมหาชน
๑. ศาลเป็นองค์กรของรัฐ
๑.๑ ความเบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐ
๑.๒ เหตุที่รัฐต้องจัดตั้งองค์กรของรัฐ
๑.๓ รัฐกับการจัดตั้งองค์กรศาล
๒. ศาลเป็นองค์กรตุลาการ
๒.๑ ความหมายขององค์กรตุลาการ
๒.๒ ความสำคัญขององค์กรตุลาการ
๒.๓ สารัตถะของความเป็นองค์กรตุลาการ
🥕บทที่ ๒ ประเภทของศาลในทางกฎหมายมหาชน
๑. ศาลรัฐธรรมนูญ
๑.๑ การเกิดขึ้นของศาลรัฐธรรมนูญ
๑.๒ องค์ประกอบของคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
๑.๓ ชั้นศาลของศาลรัฐธรรมนูญ
๒. ศาลปกครอง
๒.๑ การเกิดขึ้นของศาลปกครอง
๒.๒ คุณสมบัติของคณะตุลาการศาลปกครอง
๒.๓ ชั้นศาลของศาลปกครอง
🥕บทที่ ๓ สถานะของศาลในทางกฎหมายมหาชน
๑. ศาลกับสถานะ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ”
๑.๑ ความทั่วไปเกี่ยวกับ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ”
๑.๒ ศาลรัฐธรรมนูญกับสถานะองค์กรตามรัฐธรรมนูญ
๒. ศาลกับสถานะ “องค์กรทั่วไปของรัฐ”
๒.๑ ความทั่วไปเกี่ยวกับ “องค์กรทั่วไปของรัฐ”
๒.๒ ศาลปกครองกับสถานะองค์กรทั่วไปของรัฐ
📌 ภาคที่ ๒ : คดีในระบบกฎหมายมหาชน
ความนำภาคที่ ๒
🥕บทที่ ๔ ประเภทของคดีในทางกฎหมายมหาชน
๑. คดีรัฐธรรมนูญ
๑.๑ ความหมายของคดีรัฐธรรมนูญ
๑.๒ ชนิดของคดีรัฐธรรมนูญที่สำคัญ
๒. คดีปกครอง
๒.๑ ความหมายของคดีปกครอง
๒.๒ ชนิดของคดีปกครองที่สำคัญ
🥕บทที่ ๕ ลักษณะของคดีในทางกฎหมายมหาชน
๑. ลักษณะเกี่ยวกับคู่ความในคดี
๑.๑ คดีที่คู่ความเป็นหน่วยงานของรัฐกับเอกชน
๑.๒ คดีที่คู่ความเป็นหน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง
๒. ลักษณะเกี่ยวกับข้อพิพาทในคดี
๓. ลักษณะเกี่ยวกับความมุ่งหมายในการวินิจฉัยคดี
๓.๑ การวินิจฉัยคดีเพื่อคุ้มครองทั้งประโยชน์สาธารณะและสิทธิเสรีภาพของบุคคล
๓.๒ การวินิจฉัยคดีเพื่อรักษาดุลยภาพระหว่างประโยชน์สาธารณะกับสิทธิเสรีภาพของบุคคล
๔. ลักษณะเกี่ยวกับระบบวิธีพิจารณาคดี
📌 ภาคที่ ๓ : การพิจารณาคดีของศาลในระบบกฎหมายมหาชน
ความนำภาคที่ ๓
🥕บทที่ ๖ องค์คณะตุลาการในการพิจารณาคดี
๑. ความทั่วไปเกี่ยวกับองค์คณะตุลาการ
๒. องค์คณะตุลาการของศาลในทางกฎหมายมหาชน
๒.๑ องค์คณะตุลาการในศาลรัฐธรรมนูญ
๒.๒ องค์คณะตุลาการในศาลปกครอง
๓. ความแตกต่างระหว่างองค์คณะตุลาการของศาลในทางกฎหมายมหาชนกับองค์คณะผู้พิพากษาของศาลในทางกฎหมายเอกชน
🥕บทที่ ๗ เขตอำนาจศาลในการพิจารณาคดี
๑. หลักนิติรัฐกับเขตอำนาจศาล
๑.๑ ความเบื้องต้นเกี่ยวกับหลักนิติรัฐ
๑.๒ ความสัมพันธ์ระหว่างหลักนิติรัฐกับเขตอำนาจศาล
๒. ชนิดของเขตอำนาจศาล
๒.๑ เขตอำนาจศาลเป็นการทั่วไป
๒.๒ เขตอำนาจศาลเป็นการเฉพาะ
๓. เขตศาลในทางพื้นที่กับเขตอำนาจศาลเหนือวัตถุแห่งคดี
๓.๑ เขตศาลในทางพื้นที่
๓.๒ เขตอำนาจศาลเหนือวัตถุแห่งคดี
🥕บทที่ ๘ การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีของศาล
๑. หลักการพิจารณาคดีโดยใช้ระบบไต่สวน
๑.๑ ความหมายของระบบวิธีพิจารณาคดีแบบไต่สวน
๑.๒ เหตุของการใช้ระบบวิธีพิจารณาคดีแบบไต่สวน
๑.๓ สารัตถะของระบบวิธีพิจารณาคดีแบบไต่สวน
๒. หลักการรับฟังคู่ความในคดี
๒.๑ ความหมายของหลักการรับฟังคู่ความ
๒.๒ ความสำคัญของหลักการรับฟังคู่ความ
๒.๓ วิธีการรับฟังคู่ความ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
๑. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๑
๒. ระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓
ประวัติผู้เขียน
📌 การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 2 : แก้ไขคำผิด, ไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหา