คำอธิบาย
🍭 ผู้จัดทำ: เอื้อน ขุนแก้ว และ วรนันยา ใช้เทียมวงษ์
🍭 รหัสสินค้า: 9786165984133
บทคัดย่อ/สารบัญ
บทที่ ๑ บททั่วไป
๑.๑ ลักษณะทั่วไป
๑.๒ ความแตกต่างในการได้รับชำระหนี้ตามกฎหมายลักษณะต่าง ๆ
๑.๓ การนำบทบัญญัติส่วนล้มละลายมาใช้ในคดีฟื้นฟูกิจการ
บทที่ ๒ การร้องขอฟื้นฟูกิจการและคำสั่ง
๒.๑ ภาพรวมของกระบวนพิจารณาคดีฟื้นฟูกิจการ
๒.๒ การยื่นคำร้องขอฟื้นฟูกิจการ
๒.๓ คำสั่งรับคำร้องขอ
๒.๔ กระบวนพิจารณาคดีฟื้นฟูกิจการ
๒.๕ ผลของการฟื้นฟูกิจการต่ออายุความ
บทที่ ๓ สภาวะพักการชำระหนี้
๓.๑ ลักษณะทั่วไป
๓.๒ ระยะเวลาบังคับของสภาวะพักการชำระหนี้
๓.๓ รายการและเงื่อนไขในการคุ้มครอง
๓.๔ การขอบรรเทาจากสภาวะพักการชำระหนี้
บทที่ ๔ ผู้ทำแผน
๔.๑ ลักษณะทั่วไป
๔.๒ อำนาจของผู้บริหารของลูกหนี้เมื่อศาลสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
๔.๓ อำนาจหน้าที่ของผู้ทำแผน
๔.๔ การตั้งผู้ทำแผน
๔.๕ ผลของคำสั่งตั้งผู้ทำแผน
๔.๖ ความรับผิดของผู้ทำแผน
๔.๗ หนี้ที่เกิดจากการกระทำของผู้ทำแผน
บทที่ ๕ การขอรับชำระหนี้
๕.๑ การขอรับชำระหนี้
๕.๒ หนี้ที่อาจขอรับชำระได้
๕.๓ เจ้าหนี้มีประกัน
๕.๔ กระบวนการในการพิจารณาคำขอรับชำระหนี้
๕.๕ ผลของการไม่ยื่นคำขอรับชำระหนี้
๕.๖ หนี้ที่เกิดขึ้นหลังจากศาลมีคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
๕.๗ การโอนสิทธิเรียกร้อง
๕.๘ การหักกลับลบหนี้
บทที่ ๖ การจัดกิจการและทรัพย์สิน
๖.๑ การทวงหนี้
๖.๒ การเพิกถอนการฉ้อฉล
๖.๓ การเพิกถอนการให้เปรียบ
๖.๔ การไม่ยอมรับทรัพย์สินหรือสิทธิตามสัญญา
บทที่ ๗ การจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการ
๗.๑ การประเมินราคาทรัพย์สิน
๗.๒ แผนฟื้นฟูกิจการ
๗.๓ การจัดกลุ่มเจ้าหนี้
บทที่ ๘ การประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาแผน
บทที่ ๙ การพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนฟื้นฟูกิจการ
๙.๑ กระบวนพิจารณา
๙.๒ ประเด็นในการคัดค้าน
๙.๓ หน้าที่นำสืบ
๙.๔ เงื่อนไขในการพิจารณาให้ความเห็นชอบด้วยแผน
๙.๕ การพิจารณาให้ความเห็นชอบด้วยแผน
๙.๖ สิทธิของผู้ถือหุ้นในการฟื้นฟูกิจการ
บทที่ ๑๐ การดำเนินการภายหลังศาลมีคำสั่งเห็นชอบด้วยแผน
๑๐.๑ ผลของคำสั่งเห็นชอบด้วยแผน
๑๐.๒ การแก้ไขแผนหลังจากศาลมีคำสั่งเห็นชอบด้วยแผน
๑๐.๓ การแก้ไขข้อบังคับหรือหนังสือบริคณห์สนธิของลูกหนี้
๑๐.๔ การพ้นจากตำแหน่งของผู้บริหารแผน
๑๐.๕ การแต่งตั้งผู้บริหารแผนคนใหม่
๑๐.๖ การตั้งผู้บริหารแผนชั่วคราว
๑๐.๗ ผลของการที่ศาลฎีกาพิพากษากลับคำสั่งเห็นชอบด้วยแผน
บทที่ ๑๑ การสิ้นสุดของคดีฟื้นฟูกิจการ
๑๑.๑ คำสั่งยกคำร้องขอ
๑๑.๒ การยกเลิกคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
๑๑.๓ การยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ
๑๑.๔ คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
๑๑.๕ คำสั่งจำหน่ายคดี
๑๑.๖ การดำเนินการภายหลังคดีฟื้นฟูกิจการสิ้นสุดลง
บทที่ ๑๒ การพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดในคดีฟื้นฟูกิจการ
๑๒.๑ เหตุที่ศาลจะมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
๑๒.๒ หนี้ที่ต้องยื่นคำขอรับชำระหนี้
๑๒.๓ การให้ความคุ้มครองหนี้ที่เกิดจากการฟื้นฟูกิจการ
๑๒.๔ บุริมสิทธิ
๑๒.๕ ค่าธรรมเนียม
๑๒.๖ กำหนดเวลายื่นคำขอรับชำระหนี้
๑๒.๗ การสอบสวนและมีคำสั่ง
๑๒.๘ ผลของคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
บทที่ ๑๓ การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
๑๓.๑ ภาพรวมการฟื้นฟูกิจการ
๑๓.๒ ความแตกต่างระหว่างการปรับโครงหนี้นอกศาลกับการฟื้นฟูกิจการแบบ Prepacked Plan
๑๓.๓ ลูกหนี้ในคดีฟื้นฟูกิจการ
๑๓.๔ เงื่อนไขในการยื่นคำร้องขอ
๑๓.๕ การยื่นคำร้องขอฟื้นฟูกิจการ
๑๓.๖ คำสั่งรับคำร้องขอ
๑๓.๗ การไต่สวน
๑๓.๘ สภาวะพักการชำระหนี้
๑๓.๙ การพิจารณาคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
๑๓.๑๐ คำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
๑๓.๑๑ ผลของคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
๑๓.๑๒ หนี้ที่ไม่ได้ระบุไว้ในแผน
๑๓.๑๓ การขออนุญาตศาลทำข้อบังคับ หรือเปลี่ยนแปลงข้อบังคับของลูกหนี้
๑๓.๑๔ ผู้บริหารแผน
๑๓.๑๕ การสิ้นสุดคดีฟื้นฟูกิจการ
๑๓.๑๖ การบริหารกิจการของลูกหนี้ภายหลังคดีฟื้นฟูกิจการสิ้นสุดลง
๑๓.๑๗ ผลของการกระทำที่กระทำไปแล้ว
บทที่ ๑๔ การอุทธรณ์และฎีกา
๑๔.๑ การอุทธรณ์
๑๔.๒ การฎีกา
บทที่ ๑๕ การปรับใช้กฎหมาย
บทที่ ๑๖ เบ็ดเตล็ด
๑๖.๑ คำถามประกอบการทบทวน
๑๖.๒ ข้อสอบวิชากฎหมายฟื้นฟูกิจการ (เรียงตามลำดับกระบวนพิจารณา)
๑๖.๓ ข้อสอบทุนข้าราชการตุลาการ ประจำปี ๒๕๕๔
✪ การแก้ไข: พิมพ์ครั้งที่ 13 ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย ✪