คำอธิบาย
🍮 ผู้รวบรวม: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
🍮 รหัสสินค้า: 9786168314180
บทคัดย่อ/สารบาญ
🥮 บทที่ 1 ทรัพย์
1.1 ความหมายของทรัพย์และทรัพย์สิน (ม.137 – 138)
1.2 คำว่าวัตถุที่มีรูปร่างกับวัตถุไม่มีรูปร่าง
1.3 ผลที่ตามมา
1.4 อสังหาริมทรัพย์ประกอบด้วยทรัพย์สิน 4 ประเภท (ม.139)
1.5 สังหาริมทรัพย์ (ม.140)
1.6 ทรัพย์แบ่งได้และทรัพย์แบ่งไม่ได้ (ม.141)
1.7 ทรัพย์นอกพาณิชย์ (ม.143)
1.8 การห้ามโอนโดยนิติกรรมไม่ถือว่าเป็นทรัพย์นอกพาณิชย์
1.9 ส่วนควบ (ม.144 – 146)
1.10 อุปกรณ์ (ม.147)
1.11 ดอกผล (ม.148)
1.12 ผู้ใดมีสิทธิในดอกผล (ม.1336)
🥮 บทที่ 2 ทรัพย์สิน การได้มาซึ่งทรัพยสิทธิ
2.1 ทรัพยสิทธิ (ม.1298)
2.2 ข้อแตกต่างระหว่างทรัพยสิทธิกับบุคคลสิทธิ
2.3 การได้มาซึ่งทรัพยสิทธิ (ม.1299)
2.4 การเพิกถอนการจดทะเบียน (ม.1300)
2.5 บุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพย์เดียวกัน (ม.1303)
2.6 สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (ม.1304)
2.7 ผลของการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน (ม.1305 – 1307)
🥮 บทที่ 3 การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์
3.1 ที่งอกริมตลิ่ง (ม.1308)
3.2 เกาะและทางน้ำตื้นเขิน (ม.1309)
3.3 การสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่น (ม.1310)
3.4 การสร้างโรงเรือนในที่ดินของผู้อื่นโดยไม่สุจริต (ม.1311)
3.5 การสร้างโรงเรียนรุกล้ำที่ดินของผู้อื่น (ม.1312)
3.6 เจ้าของที่ดินมีเงื่อนไขสร้างโรงเรียนในที่ดินนั้น (ม.1313)
3.7 สร้างสิ่งอื่น ปลูกต้นไม้หรือธัญชาติในที่ดินของผู้อื่น (ม.1314)
3.8 สร้างโรงเรียนหรือสิ่งก่อสร้างอย่างอื่นในที่ดินของตนเองด้วยสัมภาระผู้อื่น (ม.1315)
3.9 การเอาสังหาริมทรัพย์มารวมเข้ากันจนเป็นส่วนควบ (ม.1316)
3.10 การเอาสัมภาระของผู้อื่นมาทำเป็นสิ่งใดขึ้นใหม่ (ม.1317)
3.11 การได้มาโดยเข้าถือเอาสังหาริมทรัพย์ไม่มีเจ้าของ (ม.1318 – 1323)
3.12 แดนแห่งกรรมสิทธิ์และการใช้กรรมสิทธิ์ (ม.1335)
3.13 สิทธิในฐานะที่เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ (ม.1336)
3.14 การใช้สิทธิที่ทำให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ได้รับความเสียหาย (ม.1337)
🥮 บทที่ 4 การใช้กรรมสิทธิ์ ทางจำเป็น
4.1 ทางจำเป็น (ม.1349)
4.2 ที่ดินแบ่งแยกแบ่งโอนเป็นเหตุให้ไม่มีทางออกสู่ทางสาธารณะ (ม.1350)
4.3 กรรมสิทธิ์รวม (ม.1356 – 1362)
4.4 การแบ่งกรรมสิทธิ์รวม (ม.1363 – 1364)
4.5 สิทธิครอบครอง (ม.1367 – 1368)
4.6 ข้อสันนิษฐานตาม (ม.1373)
4.7 การแย่งการครอบครอง (ม.1375)
4.8 เหตุชั่วคราวมาขัดขวางการครอบครอง (ม.1377 ว.2)
4.9 การครอบครองสิ้นสุดลง การโอนการครอบครอง (ม.1377 ว.1, 1378 – 1380)
4.10 การเปลี่ยนลักษณะการยึดถือ (ม.1381)
4.11 การครอบครองปรปักษ์ (ม.1382)
4.12 การโอนการครอบครอง (ม.1385)
4.13 ภาระจำยอม (ม.1387 – 1400)
4.14 สิทธิเก็บกิน (ม.1417 – 1418)
🥮 บทที่ 5 บิดามารดากับบุตร
5.1 การเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย (ม.1536 – 1560)
5.2 สิทธิหน้าที่บิดา มารดา บุตร (ม.1561 – 1584/1)
5.3 ความปกครอง (ม.1585 – 1598/18)
5.4 บุตรบุญธรรม (ม.1598/19 – 1598/37)
🥮 บทที่ 6 การสมรส
6.1 การหมั้น (ม.1435 – 1447/2)
6.2 การสมรส (ม.1448 – 1460)
6.3 ความสัมพันธ์ระหว่างสามี ภริยา (ม.1461 – 1464/1)
6.4 ทรัพย์สินระหว่างสามี ภริยา (ม.1465 – 1493)
6.5 การสมรสที่เป็นโมฆะ (ม.1494 – 1500)
6.6 การสมรสที่เป็นโมฆียะ (ม.1501 – 1535)
🥮 บทที่ 7 มรดก
7.1 กองมรดก (ม.1599 – 1604)
7.2 ทายาทโดยธรรมและการแบ่งมรดก (ม.1620 – 1645)
7.3 การเสียสิทธิในการรับมรดก (ม.1605 – 1619)
7.4 การรวบรวม จำหน่าย และแบ่งปันทรัพย์มรดก (ม.1745 – 1750)
7.5 อายุความเกี่ยวกับมรดก (ม.1754 – 1755)
🥮 บทที่ 8 พินัยกรรมและผู้จัดการมรดก
8.1 ลักษณะของพินัยกรรม (ม.1646 – 1654)
8.2 แบบของพินัยกรรม (ม.1655 – 1672)
8.3 การเพิกถอน การตกไป และความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรม (ม.1693 – 1710)
8.4 ผู้จัดการมรดก (ม.1711 – 1752)
หลักเกณฑ์คำพิพากษาศาลฎีกาที่สำคัญ
📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 2: เพิ่มแนวคำพิพากษาศาลฎีกาทันสมัยล่าสุด และปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับกฎหมายที่แก้ไขใหม่