คำอธิบาย
🍮 ผู้เขียน: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่ (ผู้พิพากษา)
🍮 รหัสสินค้า: 9789742039424
สารบาญ
บทที่ ๑ พระราชบัญญัติการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ พ.ศ. ๒๕๒๖
๑. ชื่อพระราชบัญญัติ (มาตรา ๑)
๒. วันใช้บังคับ (มาตรา ๒)
๓. กฎหมาย กฎ และข้อบังคับส่วนที่ขัดหรือแย้ง (มาตรา ๓)
๔. คำจำกัดความ (มาตรา ๔)
๕. หลักเกณฑ์การร้องขอให้รื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาพิพากษาใหม่ (มาตรา ๕)
๖. ผู้มีสิทธิและอำนาจขอรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ (มาตรา ๖, ๗)
๗. ศาลที่ยื่นคำร้องและการบรรยายคำร้อง (มาตรา ๘)
๘. การไต่สวนคำร้อง (มาตรา ๙)
๙. คำสั่งศาลอุทธรณ์ (มาตรา ๑๐)
๑๐. การแจ้งวันนัดและการสืบพยาน (มาตรา ๑๑)
๑๑. การปล่อยชั่วคราวระหว่างพิจารณาคดี (มาตรา ๑๒)
๑๒. อำนาจศาลในการพิจารณาคดี (มาตรา ๑๓, ๑๔)
๑๓. การอุทธรณ์ ฎีกา (มาตรา ๑๕)
๑๔. การนำกฎหมายอื่นมาใช้บังคับโดยอนุโลม (มาตรา ๑๖)
๑๕. กระทรวงการคลังจ่ายค่าทดแทน (มาตรา ๑๗)
๑๖. คำร้องยื่นได้เพียงครั้งเดียว (มาตรา ๑๘)
๑๗. บุคคลผู้ต้องรับโทษยื่นคำร้องแล้วถึงแก่ความตาย (มาตรา ๑๙)
๑๘. กำหนดเวลายื่นคำร้อง (มาตรา ๒๐)
๑๙. ผู้รักษาการตามกฎหมาย (มาตรา ๒๑)
แนวการเขียนคำร้องตามมาตรา ๕, ๘
บทที่ ๒ หลักกฎหมายประกอบข้อพิจารณาก่อนยื่นคำร้อง
๑. กรณีตามประมวลกฎหมายอาญา
๒. กรณีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
บทที่ ๓ การขอพิจารณาคดีใหม่ (คดีส่วนแพ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง)
๑. การขอพิจารณาคดีใหม่กรณีแพ้คดีโดยขาดนัดยื่นคำให้การ (มาตรา ๑๙๙ ตรี, ๑๙๙ จัตวา, ๑๙๙ เบญจ)
๒. การขอพิจารณาคดีใหม่กรณีขาดนัดพิจารณา
ภาคผนวก
บรรณานุกรม