คำอธิบาย
🍧ผู้เขียน: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
🍧รหัสสินค้า: 9789742039127
บทคัดย่อ/สารบาญ
บทที่ ๑ บททั่วไป
๑. ชื่อพระราชบัญญัติ (มาตรา ๑)
๒. วันใช้บังคับ (มาตรา ๒)
๓. กฎหมายยกเลิก (มาตรา ๓)
๔. คำจำกัดความ (มาตรา ๔)
๕. นำบทบัญญัติกฎหมายอื่นมาใช้บังคับ (มาตรา ๖)
๖. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ (มาตรา ๗)
๗. การจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว (มาตรา ๘, ๙)
๘. คดีที่อยู่ในอำนาจของศาลเยาวชนและครอบครัว (มาตรา ๕, ๑๐)
๙. จำเลยอายุครบ ๑๘ ปี (คดีอาญา) ครบ ๒๐ ปี (คดีแพ่ง) ระหว่างพิจารณา (มาตรา ๑๓)
๑๐. อายุของจำเลยผิดไป การโอนคดี (มาตรา ๑๔, ๑๒)
๑๑. การเสนอปัญหาเรื่องอำนาจศาล (มาตรา ๑๑)
๑๒. องค์คณะพิจารณาพิพากษาคดี (มาตรา ๒๓, ๒๔, ๑๔๗)
๑๓. จำนวน การแต่งตั้งผู้พิพากษา (มาตรา ๑๕, ๑๖)
๑๔. อธิบดีฯ รองอธิบดีฯ และผู้พิพากษาหัวหน้าศาล (มาตรา ๑๗-๒๒)
๑๕. ผู้พิพากษาสมทม (มาตรา ๒๕-๓๐)
๑๖. ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ จิตวิทยา (มาตรา ๓๑)
๑๗. ค่าตอบแทนสถานที่ตรวจรักษา บำบัดฟื้นฟู (มาตรา ๓๒)
๑๘. หน้าที่รับจำแจ้งส่วนราชการฯ (มาตรา ๓๓)
บทที่ ๒ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนและศูนย์ฝึกอบรม
๑. สถานพินิจ ฯ (มาตรา ๓๔-๕๓)
๒. ศูนย์ฝึกและอบรม สถานศึกษา สถานฝึกและอบรม และสถานแนะนำทางจิต (มาตรา ๕๔-๕๖)
๓. การฝึกอบรม (มาตรา ๕๗-๖๕)
บทที่ ๓ การดำเนินคดีอาญาแก่เด็กหรือเยาวชน
๑. การจับเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๖๖)
๒. บทคุ้มครองสิทธิเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๖๗, ๖๘)
๓. วิธีการจับเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๖๙)
๔. อำนาจหน้าที่ของพนักงานสอบสวนหลังจากรับตัวเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๗๐, ๗๑)
๕. การตรวจสอบการจับกุม (มาตรา ๗๒, ๗๓)
๖. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาออกคำสั่งควบคุมหรือคุมขังเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๗๔)
๗. การดำเนินการในชั้นสอบสวน (มาตรา ๗๕-๗๗, ๖๙/๑)
๘. กำหนดเวลาฟ้องและการผัดฟ้อง (มาตรา ๗๘, ๗๙)
๙. การขออนุญาตฟ้องคดี (มาตรา ๘๐)
๑๐. ห้ามควบคุมเด็กหรือเยาวชนปะปนกับผู้ใหญ่ (มาตรา ๘๑)
๑๑. การถอนฟ้อง (มาตรา ๑๐๐)
๑๒. อำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการสถานพินิจเมื่อได้รับแจ้งการจับหรือได้รับตัวเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๘๒)
๑๓. การหักวันที่ถูกควบคุม (มาตรา ๘๒)
๑๔. ห้ามเปิดเผยประวัติการกระทำความผิดอาญา (มาตรา ๘๔)
๑๕. การควบคุมเด็กหรือเยาวชนของสถานพินิจ (มาตรา ๘๕)
บทที่ ๔ มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา (มาตรา ๘๖-๙๔)
๑. หลักเกณฑ์
๒. การกำหนดแนวทาง
๓. มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาก่อนฟ้องคดี
๔. มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาหลังฟ้องคดี (มาตรา ๙๐-๙๔)
๕. มาตรการแทนการพิพากษาคดี (มาตรา ๑๓๒, ๑๓๓)
บทที่ ๕ อำนาจศาลเกี่ยวกับคดีอาญา
๑. เขตอำนาจศาลเยาวชนฯ ในคดีอาญา (มาตรา ๙๕)
๒. กรณีเด็กหรือเยาวชนกระทำผิดอาญาร่วมกับบุคคลอื่น (มาตรา ๙๖)
๓. การโอนคดีระหว่างศาลธรรมดาและศาลเยาวชนและครอบครัว (มาตรา ๙๗, ๙๘)
๔. การฟ้องคดีอาญา (มาตรา ๙๙)
๕. พนักงานอัยการดำเนินคดี (มาตรา ๑๐๑)
บทที่ ๖ การพิจารณาคดีอาญา
๑. การควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชน (มาตรา ๑๐๒)
๒. ห้ามใช้เครื่องพันธนาการ (มาตรา ๑๐๓)
๓. แจ้งวันนั่งพิจารณา (มาตรา ๑๐๔)
๔. เจ้าของสำนวน (มาตรา ๑๐๕)
๕. สอบถามจำเลยเป็นการเฉพาะตัว (มาตรา ๑๐๖)
๖. ห้องพิจารณาคดี (มาตรา ๑๐๗)
๗. กระบวนการในห้องพิจารณาคดี (มาตรา ๑๐๘-๑๑๑)
๘. ผู้ปกครองชั่วคราว (มาตรา ๑๑๒, ๑๑๓)
๙. ดุลพินิจในกระบวนการพิจารณา (มาตรา ๑๑๔-๑๑๙)
๑๐. ที่ปรึกษากฎหมาย (มาตรา ๑๒๐-๑๒๕)
๑๑. การปล่อยชั่วคราว (มาตรา ๑๒๖)
๑๒. การพิจารณาคดีลับหลังจำเลย (มาตรา ๑๒๗)
๑๓. ค่าปรับเมื่อไม่ส่งตัวตามหมายเรียก (มาตรา ๑๒๘)
๑๔. ห้ามควบคุมปนกับผู้ใหญ่ และห้ามบันทึกภาพ (มาตรา ๑๒๙, ๑๓๐)
๑๕. หลักเกณฑ์การพิจารณาคดีอาญา
บทที่ ๗ การพิพากษาคดีอาญา
๑. หลักเกณฑ์การพิพากษา (มาตรา ๑๓๑-๑๓๓, ๑๓๘-๑๔๐)
๒. การเปลี่ยนโทษและการใช้วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชน (มาตรา ๑๔๒-๑๔๕)
๓. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำพิพากษาหรือคำสั่ง (มาตรา ๑๓๗)
๔. คำพิพากษา การอ่าน การโฆษณา (มาตรา ๑๓๔-๑๓๖)
๕. อำนาจตรวจสถานพินิจฯ (มาตรา ๑๔๑)
บทที่ ๘ การพิจารณาพิพากษาคดีครอบครัว
๑. ศาลพยายามเปรียบเทียบ (มาตรา ๑๔๖, ๑๔๘)
๒. ผู้ประนีประนอมคดีครอบครัว (มาตรา ๑๔๙, ๑๕๐)
๓. การยุติการไกล่เกลี่ย (มาตรา ๑๕๑)
๔. การสืบเสาะ (มาตรา ๑๕๒)
๕. การดำเนินการเป็นการลับ (มาตรา ๑๕๓)
๖. การบังคับคดี (มาตรา ๑๕๔)
๗. การยกเว้นค่าธรรมเนียม (มาตรา ๑๕๕)
๘. การส่งคำคู่ความ (มาตรา ๑๕๖)
๙. การฟ้องคดีครอบครัว (มาตรา ๑๕๗)
๑๐. การแต่งตั้งทนายความ (มาตรา ๑๕๘)
๑๑. มาตรการคุ้มครองชั่วคราว (มาตรา ๑๕๙, ๑๖๑)
๑๒. การสั่งให้ตรวจพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ (มาตรา ๑๖๐)
๑๓. คำพิพากษาให้จ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูหรือค่าเลี้ยงชีพ (มาตรา ๑๖๒)
๑๔. การร้องขอให้ศาลสั่งเป็นบุคคลไร้ความสามารถและผู้ใช้อำนาจปกครอง (มาตรา ๑๖๓, ๑๖๔)
๑๕. การพิจารณาพิพากษาคดีครอบครัวที่ผู้เยาว์มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสีย (มาตรา ๑๖๕-๑๗๐)
๑๖. หลักเกณฑ์การพิจารณาพิพากษาคดีครอบครัว
บทที่ ๙ การพิจารณาคดีคุ้มครองสวัสดิภาพ
๑. อำนาจออกข้อบังคับ (มาตรา ๑๗๑)
๒. ผู้มีสิทธิร้องขอ ศาลที่จะยื่นคำร้อง ลักษณะของการร้องขอ (มาตรา ๑๗๒, ๑๗๙)
๓. การดำเนินกระบวนพิจารณา (มาตรา ๑๗๓)
๔. ลักษณะของคำสั่งศาล (มาตรา ๑๗๔-๑๗๖)
บทที่ ๑๐ อุทธรณ์และฎีกา (มาตรา ๑๘๐-๑๘๒/๑)
๑. การอุทธรณ์คำพิพากษาหรือคำสั่งคดีอาญา (มาตรา ๑๘๐)
๒. การอุทธรณ์และฎีกาคดีครอบครัว (คดีแพ่ง)
๓. บทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๘๕-๑๙๒)
บทที่ ๑๑ การสมรส (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์)
๑. การหมั้น (มาตรา ๑๔๓๕-๑๔๔๗)
๒. เงื่อนไขแห่งการสมรส (มาตรา ๑๔๔๘-๑๔๖๐)
๓. ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา (มาตรา ๑๔๖๑-๑๔๖๔/๑)
๔. ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา (มาตรา ๑๔๖๕-๑๔๙๓)
๕. สินส่วนตัวและสินสมรส (มาตรา ๑๔๗๐-๑๔๘๙)
๖. หนี้ร่วม (มาตรา ๑๔๘๙-๑๔๙๐)
๗. ความเป็นโมฆะของการสมรส (มาตรา ๑๔๙๔-๑๕๐๐)
๘. การสิ้นสุดแห่งการสมรส (มาตรา ๑๕๐๑-๑๕๑๓)
๙. การหย่า (มาตรา ๑๕๑๔-๑๕๓๕)
บทที่ ๑๒ บิดามารดากับบุตร (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์)
๑. ข้อสันนิษฐานว่าเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๓๖-๑๕๓๘)
๒. การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๓๙)
๓. การเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดามารดาที่ไม่ได้จดทะเบียน (มาตรา ๑๕๔๖, ๑๕๔๗)
๔. การจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๔๘-๑๕๕๕)
๕. การฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๕๕-๑๕๕๙)
๖. สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร (มาตรา ๑๕๖๑-๑๕๘๔)
๗. ความปกครองและผู้ปกครอง (มาตรา ๑๕๘๕-๑๕๙๘/๑๘)
๘. บุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๑๙-๑๕๙๘/๓๗)
๙. ค่าอุปการะเลี้ยงดู (มาตรา ๑๕๙๘/๓๘-๑๕๙๘/๔๐)
ภาคผนวก
๑. พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓
๒. พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๙) พ.ศ. ๒๕๖๕
๓. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
๔. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
๕. พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒
๖. พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาและคุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๒
๗. พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในทางแพ่งเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ.๒๕๕๕
๘. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
๙. ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยแนวทางการพิจารณากระบวนการจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูชั้นก่อนฟ้องคดี พ.ศ. ๒๕๕๗
๑๐. ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยแนวทางการพิจารณากระบวนการจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูชั้นก่อนฟ้องคดี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
๑๑. ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยวิธีการดำเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภาพ พ.ศ. ๒๕๕๔
๑๒. ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการสอดส่องความประพฤติของเด็กและเยาวชนและจัดทำรายงานเสนอต่อศาล พ.ศ. ๒๕๕๖
แบบฟอร์มตัวอย่างคำร้อง
บรรณานุกรม