Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

กฎหมายอาญา ภาค ๑

Original price was: ฿ 440.00.Current price is: ฿ 418.00.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 650 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ศาสตราจารย์ ดร. หยุด แสงอุทัย

บรรณาธิการ

ศาสตราจารย์ ดร. ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ

รหัสสินค้า

9786163149886

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

291

พิมพ์ครั้งที่

22 : กุมภาพันธ์ 2566

มีสินค้าอยู่ 1

รหัสสินค้า: 9786163149886 หมวดหมู่: , Product ID: 4514

คำอธิบาย

🌾ผู้เขียน: ศาสตราจารย์ ดร. หยุด แสงอุทัย
🌾บรรณาธิการ:
ศาสตราจารย์ ดร. ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ

🌾รหัสสินค้า: 9786163149886

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
คำชี้แจง
คำนำฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒๑
คำนำฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๒๐
คำนำฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๑๖
คำนำฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๑
🍨บทที่ ๑ การศึกษากฎหมายอาญา
การศึกษากฎหมาย
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒ สาขากฎหมายที่เกี่ยวกับกฎหมายอาญา
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๓ ตัวบทกฎหมายของวิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป
โครงรูปของประมวลกฎหมายอาญา
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๔ การใช้กฎหมายอาญา
ส่วนที่ ๑ การใช้ประมวลกฎหมายอาญาเท่าที่เกี่ยวกับโทษอาญา
หมวด ๑
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
การคำนึงถึงคำพิพากษาของศาลในต่างประเทศ
หมวด ๒ เวลาที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
หมวด ๓ บุคคลที่กฎหมายอาญาจะใช้บังคับ
ส่วนที่ ๒ การใช้กฎหมายอาญาเท่าที่เกี่ยวกับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๕ การตีความในกฎหมายอาญา
หลักเกณฑ์พิเศษเกี่ยวกับการตีความกฎหมายอาญา
การเทียบเคียงบทที่ใกล้เคียงอย่างยิ่ง
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๖ การวินิจฉัยการกระทำความผิดอาญา
ส่วนที่ ๑ การกระทำตามความหมายของประมวลกฎหมายอาญา
หมวด ๑
คำอธิบายทั่วไป
หมวด ๒
ความผิดที่ห้ามมิให้บุคคลกระทำ
หมวด ๓
ความผิดที่บังคับให้บุคคลกระทำ
ส่วนที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล
ส่วนที่ ๓ การกระทำนั้นเท่าที่แสดงออกมาภายนอกมีกฎหมายบัญญ้ติว่าเป็นความผิด
ส่วนที่ ๔ การกระทำความผิดอาญาโดยปกติต้องมีเจตนา
อย่างไรเรียกว่ากระทำโดยเจตนา
เมื่อใดจึงควรพิจารณาเรื่องเจตนาโดยย่อมเล็งเห็นผล
มูลเหตุชักจูงใจพิเศษ
อย่างไรเป็นการกระทำโดยประมาท
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๗ ความสำคัญผิด
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๘ การกระทำโดยพลาด
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๙ การพยายามกระทำความผิด
โทษของการพยายามกระทำความผิด
การพยายามกระทำความผิดที่ไม่มีโทษ
การพยายามกระทำความผิดที่เป็นไปไม่ได้
การพยายามกระทำความผิดที่มีโทษเท่ากับกระทำผิดสำเร็จ
การขาดองค์ประกอบ
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๐ ตัวการ ผู้ใช้ให้กระทำความผิด ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทำความผิด และผู้สนับสนุน
หมวด ๑
ตัวการ
คำถามท้ายหมวด
หมวด ๒ ผู้ใช้ให้กระทำความผิด
คำถามท้ายหมวด
หมวด ๓ ผู้โฆษณาหรือประกาศแก่บุคคลทั่วไปให้กระทำความผิด
คำถามท้ายหมวด
หมวด ๔ ผู้สนับสนุน
คำถามท้ายหมวด
หมวด ๕ กรณีผู้กระทำความผิดกระทำไปเกินขอบเขต
การเข้าขัดขวางของผู้ใช้ ผู้โฆษณาหรือประกาศ หรือผู้สนับสนุน
คำถามท้ายหมวด
หมวด ๖ เหตุส่วนตัวและเหตุในลักษณะคดี
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๑ ความผิดหลายบทหรือหลายกระทง
ความผิดหลายบท
ความผิดหลายกระทง
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๒ เหตุที่ทำให้ผู้กระทำมีอำนาจทำได้
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
การป้องกันซึ่งกระทำไปเกินสมควรแก่เหตุหรือเกินกว่ากรณีแห่งการจำต้องกระทำเพื่อป้องกัน
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๓ เหตุที่กฎหมายยกเว้นโทษสำหรับการกระทำ
หมวด ๑
กรณีกระทำความผิดด้วยความจำเป็น
คำถามท้ายหมวด
หมวด ๒
กรณีกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน ซึ่งเป็นคำสั่งที่มิชอบด้วยกฎหมาย
คำถามท้ายหมวด
🍨บทที่ ๑๔ เหตุที่เกี่ยวกับความไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้
หมวด ๑
เด็กกระทำความผิด
คำถามท้ายหมวด
หมวด ๒ บุคคลที่กระทำความผิดในขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่นเฟือน
🍨บทที่ ๑๕ เหตุยกโทษ เหตุลดโทษ และเหตุบรรเทาโทษอย่างอื่น
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๖ โทษอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๗ วิธีการเพิ่มโทษและลดโทษ
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๘ การกระทำความผิดอีก
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๑๙ ดุลพินิจในการลงโทษ
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๐ วิธีการเพื่อความปลอดภัย
กักขัง
ห้ามเข้าเขตกำหนด
เรียกประกันทัณฑ์บน
คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล
ห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๑ อายุความ
อายุความฟ้องร้อง
อายุความล่วงเลยการลงโทษ
อายุความล่วงเลยการยึดทรัพย์สินใช้ค่าปรับหรือการกักขังแทนค่าปรับ
อายุความล่วงเลยการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัย
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๒ บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๓ วิชาที่เกี่ยวกับกฎหมายอาญา
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๔ สำนักกฎหมายอาญา
สำนักกฎหมายมานุษยวิทยา
สำนักกฎหมายคลาสสิกเยอรมัน
สำนักกฎหมายอาญาสมัยใหม่
ข้อแนะนำ
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๕ จุดประสงค์ในการลงโทษ
ทฤษฎีเด็ดขาด
ทฤษฎีสัมพัทธ์
ความเห็นของผู้สอน
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๖ บทนิยามต่าง ๆ
คำถามท้ายบท
🍨บทที่ ๒๗ พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา
คำถามท้ายบท

ภาคผนวก คำถามกฎหมายอาญา ภาค ๑