คำอธิบาย
🍡ผู้เขียน: ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
🍡ร่วมแก้ไขเพิ่มเติมโดย: รองศาสตราจารย์ ดร. มานิตย์ จุมปา
🍡รหัสสินค้า: 9786164041363
สารบัญ
บทที่ ๑ ความหมายของรัฐธรรมนูญและกฎหมายรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ ประเภทของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๓ ลักษณะของกฎหมายรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๔ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม
บทที่ ๕ ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญไทยในอดีต (พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๕๓๙)
บทที่ ๖ รัฐธรรมนูญไทยกับความพยายามในการปฏิรูปการเมือง
ตอนที่ ๑ รัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๔๐ กับการปฏิรูปการเมือง
ตอนที่ ๒ รัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๕๐: ความต่อเนื่องและความเปลี่ยนแปลงจากรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐
ตอนที่ ๓ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๖๐): ความไม่ไว้วางใจนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง
บทที่ ๗ อำนาจก่อตั้งระบอบและองค์กรทางการเมือง
บทที่ ๘ รัฐธรรมนูญในฐานะที่มาสูงสุดของความชอบด้วยกฎหมาย
บทที่ ๙ การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๑๐ ศาลรัฐธรรมนูญ: องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ และวิธีพิจารณา
บทที่ ๑๑ กระบวนการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ: หลักทั่วไป
บทที่ ๑๒ กระบวนการวินิจฉัยชี้ขาดคดีรัฐธรรมนูญในประเทศไทย: ตารางสรุปกระบวนการตั้งแต่ปี ๒๔๗๕-๒๕๖๓
บทที่ ๑๓ การควบคุมร่างกฎหมายไม่ให้ขัดรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๑๔ การควบคุมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ไม่ให้ขัดรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๑๕ ศาลรัฐธรรมนูญกับการวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา และคณะรัฐมนตรี หรือองค์กรอิสระ
บทที่ ๑๖ ผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ
ภาคผนวก
– บันทึกความเห็นเสนอต่อศาลรัฐธรรมนูญในฐานะพยานผู้เชี่ยวชาญเพื่อประกอบการพิจารณาวินิจฉัยในคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๔/๒๕๖๔ เรื่อง ประธานรัฐสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๑๐ วรรคหนึ่ง (๒) กรณีมีปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอำนาจของรัฐสภาในการเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๕๖ (๑)