คำอธิบาย
🍭ผู้เขียน : ร.ต.อ.ดร. โชคชัย สิทธิผลกุล (อธิบดีอัยการสำนักงานการสอบสวน)
🍭รหัสสินค้า : 9786166168679
สารบัญ
🎄ภาคหนึ่ง การสืบสวนสอบสวนทั่วไป
บทที่ ๑ การสืบสวน
บทที่ ๒ การสอบสวน
๑. ความหมาย
๒. ผู้มีอำนาจสอบสวน
๓. เขตอำนาจสอบสวน
🎄ภาคสอง หลักทั่วไปและหลักเกณฑ์การสอบสวน
บทที่ ๑ การสอบสวนเป็นเงื่อนไขในการฟ้องคดี
๑. การสอบสวนเป็นเงื่อนไขในการฟ้องคดี
๒. การสอบสวนที่ไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา แต่ไม่มีผลกระทบอำนาจการฟ้องคดีของพนักงานอัยการ
บทที่ ๒ การสอบสวนคดีความผิดต่อส่วนตัว
๑. คำร้องทุกข์
๒. การจัดให้มีคำร้องทุกข์
๓. การแก้และถอนคำร้องทุกข์
บทที่ ๓ คำกล่าวโทษ
บทที่ ๔ เหตุที่จะไม่ทำการสอบสวน
บทที่ ๕ การสอบสวนที่เจ้าพนักงานอื่นทำแทน
บทที่ ๖ การสอบสวนคดีที่ความตายเป็นผลแห่งการกระทำผิด
🎄ภาคสาม หลักเกณฑ์การสอบสวน (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา)
บทที่ ๑ การสอบสวนสามัญ
๑. การเริ่มการสอบสวน เวลา และสถานที่สอบสวน
๒. การรวบรวมพยานหลักฐานของพนักงานสอบสวน
๓. อำนาจพนักงานสอบสวนในการตรวจ ค้น หมายเรียก และยึด
๔. อำนาจในการสอบสวนผู้เสียหายและพยาน
๕. อำนาจในการสอบสวนผู้ต้องหา
๖. อำนาจอย่างอื่นของพนักงานสอบสวน
๗. การรวบรวมการสอบสวนเข้าสำนวนและการจัดทำรายชื่อพยาน
๘. การทำความเห็นและส่งสำนวนไปยังพนักงานอัยการ
บทที่ ๒ อำนาจการสั่งคดีของพนักงานอัยการ
๑. อำนาจการสั่งคดี
๒. ผลของคำสั่งพนักงานอัยการ
๓. การจัดการเมื่อมีคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี
๔. ผลของการมีคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี
บทที่ ๓ การชันสูตรพลิกศพ
๑. กรณีที่จะต้องมีการชันสูตรพลิกศพ
๒. หน้าที่ของผู้รู้เรื่องการตายโดยผิดธรรมชาติ
๓. ผู้มีหน้าที่และวิธีการชันสูตรพลิกศพ
๔. การไต่สวนการตาย
๕. การชันสูตรพลิกศพกับการสอบสวน
๖. การส่งสำนวนการชันสูตรพลิกศพ
๗. ความผิดฐานกระทำการแก่ศพหรือสภาพแวดล้อมในบริเวณที่พบศพ
บทที่ ๔ การสอบสวนคดีวิสามัญฆาตกรรม
๑. ผู้มีอำนาจสอบสวน
๒. หลักการทำสำนวนคดีวิสามัญฆาตกรรม
๓. การร่วมทำสำนวนการสอบสวน
🎄ภาคสี่ (การสอบสวนตามกฎหมายอื่น)
บทที่ ๑ การสอบสวนตามพระราชบัญญัติการป้องกันและปราบปรามการทรมานและการทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. ๒๕๖๕
– หลักการและสาระสำคัญ
– การดำเนินคดีกับผู้กระทำผิด
– บทบาทในการยื่นคำร้องขอให้ศาลสั่งยุติการทรมารฯ
– การตรวจสอบหรือกำกับดูแล
– ผู้มีอำนาจชี้ขาดอำนาจการสอบสวน
– ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดีตามพระราชบัญญัตินี้
– หลักการพิเศษตามพระราชบัญญัตินี้
– ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมาย
– ประเด็นปัญหาที่น่าสนใจ
– ข้อสังเกตข้อบกพร่องที่พบบ่อยในการสำนวนการสอบสวน
– เอกสารประกอบสำนวนที่สำคัญฃ
บทที่ ๒ การสอบสวนตามพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ
– ประเภทคดีพิเศษ
– การสืบสวนของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษก่อนเป็นคดีพิเศษ
– การสอบสวนคดีพิเศษ
– อำนาจพิเศษในการสืบสวนสอบสวนคดีพิเศษ
– หลักเกณฑ์การมีพนักงานอัยการเข้าร่วมการสอบสวน
– การกำหนดพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบในการสอบสวนคดีพิเศษ
บรรณานุกรม