Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คำอธิบายพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ และประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับสมบูรณ์)

Original price was: ฿ 510.00.Current price is: ฿ 484.50.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 930 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้รวบรวม

สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่ (ผู้พิพากษา)

รหัสสินค้า

9786168314098

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

560

พิมพ์ครั้งที่

3 : ธันวาคม 2565

สินค้าหมดแล้ว

รหัสสินค้า: 9786168314098 หมวดหมู่: , Product ID: 22020

คำอธิบาย

📌ผู้รวบรวม : สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่ (ผู้พิพากษา)
📌รหัสสินค้า :
9786168314098

 

📌สารบัญ
🎄พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
บทที่ ๑ พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
๑.๑ ชื่อ วันที่ใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้และประมวลกฎหมายที่ดิน (ม.๑-๓)
๑.๒ กฎหมายที่ยกเลิก (ม.๔)
๑.๓ ผู้ครอบครองที่ดินและทำประโยชน์ก่อน วันที่ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ (ม.๕, ๖)
๑.๔ ที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้จับจองแล้ว (ม.๗)
๑.๕ การพิจารณาที่ดินได้ทำประโยชน์แล้วและการโอน (ม.๘, ๙)
๑.๖ ที่ดินหวงห้าม (ม.๑๐)
๑.๗ โฉนดตราจองและตราจองที่ตรา “ได้ทำประโยชน์แล้ว” (ม.๑๑)
๑.๘ การได้มาซึ่งที่ดินโดยมีสัญญาจะซื้อจะขาย หรือสัญญาเช่าซื้อ (ม.๑๒)
๑.๙ ขายฝากที่ดินก่อน พ.ร.บ. นี้ใช้บังคับ (ม.๑๓)
๑.๑๐ จับจองที่ดินก่อน พ.ร.บ. นี้ใช้บังคับ (ม.๑๔)
๑.๑๑ รัฐมนตรีที่รักษาการตาม พ.ร.บ. นี้ (ม.๑๕)
🎄ประมวลกฎหมายที่ดิน
บทที่ ๒ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
๒.๑ คำจำกัดความ (ม.๑)
๒.๒ ถือว่าเป็นที่ดินของรัฐ (ม.๒)
๒.๓ การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดิน (ม.๓)
๒.๔ สิทธิครอบครองก่อนประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ (ม.๔)
๒.๕ บทบังคับการโอนกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครอง (ม.๔ ทวิ)
๒.๖ การเวนคืนสิทธิในที่ดินให้แก่รัฐ (ม.๕)
๒.๗ การสละสิทธิในที่ดิน (ม.๖)
๒.๘ การถอนสภาพและโอนที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่น (ม.๘, ๘ ทวิ)
๒.๙ การออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (ม.๘ ตรี)
๒.๑๐ การหวงห้ามที่ดินของรัฐ (ม.๙, ๙/๑)
๒.๑๑ การจัดหาผลประโยชน์ที่ดินของรัฐ (ม.๑๐, ๑๑, ๑๒)
๒.๑๒ การจัดตั้งสำนักงานที่ดิน (ม.๑๓)
บทที่ ๓ การจัดที่ดินเพื่อประชาชน
๓.๑ คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ องค์ประกอบ การดำรงตำแหน่ง การประชุมอำนาจหน้าที่ (ม.๑๔-๒๐)
๓.๒ รัฐมนตรีดำเนินการตามมติคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติและอำนาจหน้าที่ (ม.๒๑-๒๔)
๓.๓ การสำรวจที่ดิน (ม.๒๕, ๒๖)
๓.๔ การจัดที่ดินของรัฐให้ราษฎร (ม.๒๗)
๓.๕ การผ่อนผันการแจ้งการครอบครอง (ม.๒๗ ทวิ)
๓.๖ หน้าที่ของผู้ครอบครองที่ดิน เมื่อเริ่มต้นสำรวจที่ดิน (ม.๒๗ ตรี)
๓.๗ การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ (ม.๒๘)
๓.๘ วิธีการจัดการที่ดินที่สำรวจ การออกใบจองและหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน (ม.๒๙, ๓๐)
๓.๙ การห้ามโอนโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ที่ได้ออกสืบเนื่องจากใบจอง (ม.๓๑)
๓.๑๐ ผลของการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามระเบียบ (ม.๓๒)
๓.๑๑ การจับจองที่ดินนอกเขตสำรวจ (ม.๓๓)
บทที่ ๔ การกำหนดสิทธิในที่ดิน
๔.๑ อำนาจการจำหน่ายที่ดิน (ม.๕๐)
๔.๒ การเสนอเรื่องให้คณะกรรมการชี้ขาด (ม.๕๑)
๔.๓ การตกลงราคาที่ดิน (ม.๕๒)
๔.๔ การเข้าครอบครองที่ดินโดยรัฐ (ม.๕๓)
๔.๕ การชำระราคาที่ดินโดยรัฐ (ม.๕๔)
๔.๖ การเรียกคืนที่ดินที่ผิดเงื่อนไข (ม.๕๕)
บทที่ ๕ การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
๕.๑ การออกเอกสารสิทธิที่ดิน (ม.๕๖, ๕๖/๑)
๕.๒ ข้อความในโฉนดที่ดินและหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (ม.๕๗)
๕.๓ วิธีการขอออกโฉนดที่ดินและหนังสือรับรองการทำประโยชน์
๕.๔ ผู้มีสิทธิขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน
๕.๕ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)
๕.๖ วิธีการออกโฉนดที่ดินสำหรับที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (ม.๕๘ ตรี)
๕.๗ เนื้อที่รังวัดแตกต่างจากเนื้อที่ครอบครอง (ม.๕๙ ตรี)
๕.๘ รายการเปลี่ยนแปลงคืนหนังสือแสดงสิทธิ (ม.๕๙ จัตวา, ๕๙ เบญจ)
๕.๙ กรณีมีผู้โต้แย้งสิทธิ (ม.๖๐)
๕.๑๐ เอกสารสิทธิคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย (ม.๖๑)
๕.๑๑ การแจ้งผลคำพิพากษาถึงที่สุด (ม.๖๒)
๕.๑๒ เอกสารสิทธิสูญหาย (ม.๖๓, ๖๔)
บทที่ ๖ การรังวัดที่ดิน
๖.๑ การรังวัดดำเนินการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (ม.๖๕)
๖.๒ การเข้าไปในที่ดิน เพื่อรังวัด (ม.๖๖)
๖.๓ ห้ามเคลื่อนย้ายหมุดหลักฐาน (ม.๖๗, ๖๘)
๖.๔ ประกาศสอบเขต (ม.๖๙)
๖.๕ การระวังแนวเขต (ม.๖๙ ทวิ)
๖.๖ อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ (ม.๗๐, ๗๐ ทวิ)
บทที่ ๗ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
๗.๑ พนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ม.๗๑)
๗.๒ การขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ (ม.๗๒)
๗.๓ การจดทะเบียนนิติกรรมที่เป็นโมฆะหรือโมฆียะ (ม.๗๓)
๗.๔ อำนาจสอบสวนของพนักงานเจ้าหน้าที่ (ม.๗๔)
๗.๕ การบันทึกสาระสำคัญในโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (ม.๗๕)
๗.๖ สอบสวนและรังวัดแต่ยังมิได้ออกโฉนดที่ดิน (ม.๗๖)
๗.๗ กฎหมายมิได้กำหนดปฏิบัติตามกฎกระทรวง (ม.๗๗)
๗.๘ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในที่ดินซึ่งได้มาโดยการครอบครองปรปักษ์ หรือโดยประการอื่นนอกจากนิติกรรม (ม.๗๘)
๗.๙ การแบ่งแยกและรวมที่ดิน (ม.๗๙)
๗.๑๐ การไถ่ถอนจำนองหรือขายฝาก (ม.๘๐)
๗.๑๑ การจดทะเบียนสิทธิซึ่งได้มาโดยทางมรดก (ม.๘๑)
๗.๑๒ การจดทะเบียนลงชื่อผู้จัดการมรดกในหนังสือแสดงสิทธิที่ดิน (ม.๘๓)
บทที่ ๘ การกำหนดสิทธิในที่ดินเพื่อการศาสนา
๘.๑ การได้มาซึ่งที่ดินของสถาบันทางศาสนา (ม.๘๔)
๘.๒ การจำหน่ายที่ดินของสถาบันทางศาสนา (ม.๘๕)
บทที่ ๙ การกำหนดสิทธิในที่ดินของคนต่างด้าว
๙.๑ อาศัยบทสนธิสัญญา (ม.๘๖)

๙.๒ จำนวนที่ดินที่จะพึงอนุญาต (ม.๘๗, ๘๘)
๙.๓ ต้องใช้ที่ดินเพื่อกิจการที่อนุญาต (ม.๘๙-๙๑)
๙.๔ ผลของการไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข (ม.๙๒)
๙.๕ คนต่างด้าวได้รับมรดก (ม.๙๓)
๙.๖ จำหน่ายที่ดินที่ได้มาโดยมิชอบด้วยกฎหมาย (ม.๙๔)
๙.๗ กรณีเปลี่ยนสัญชาติ (ม.๙๕)
๙.๘ ได้มาในฐานะเจ้าของแทนคนต่างด้าว (ม.๙๖)
๙.๙ คนต่างด้าวนำเงินมาลงทุน (ม.๙๖ ทวิ, ๙๖ ตรี)
บทที่ ๑๐ การกำหนดสิทธิในที่ดินของนิติบุคคลบางประเภท (ม.๙๗-๑๐๐)
บทที่ ๑๑ ค่าธรรมเนียม (ม.๑๐๓-๑๐๔)
บทที่ ๑๒ บทกำหนดโทษ (ม.๑๐๗-๑๑๓)
ภาคผนวก
๑. บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายท้ายประมวลกฎหมายที่ดินและบัญชีค่าตอบแทนท้ายประมวลกฎหมายที่ดิน
๒. ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕) ว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการแจ้งและออกคำสั่งแก่ผู้ฝ่าฝืน มาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๙๖ ลงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๕ ใช้บังคับ
๓. ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
๔. ระเบียบว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อประชาชน