คำอธิบาย
🍨 ผู้เรียบเรียง: เพรียบ หุตางกูร
🍨 แก้ไขเพิ่มเติม: ศาสตราจารย์ ดร. ไพโรจน์ กัมพูสิริ
🍨 รหัสสินค้า: 9786164883925
บทคัดย่อ/สารบาญ
🍧 บทที่ ๑ มรดกกับการตกทอดแห่งมรดก
๑. การตกทอดแห่งมรดก
๒. มรดก
๒.๑ ความหมายของมรดก
๒.๒ สิทธิหน้าที่อันเป็นการเฉพาะตัว
๒.๓ ทรัพย์สินที่ได้มาเพราะความตายหรือได้มาภายหลังตาย
🍧 บทที่ ๒ ทายาทและความสามารถในการเป็นทายาท
๑. ความหมายของทายาท
๒. ประเภทของทายาท
๓. ความสามารถในการเป็นทายาท
🍧 บทที่ ๓ ทายาทโดยธรรม
๑. ทายาทโดยธรรมประเภทญาติของเจ้าของมรดก
๑.๑ ทายาทโดยธรรมตามมาตรา ๑๖๒๙
๑.๒ การรับมรดกแทนที่
๑.๓ การสืบมรดก
๒. ทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรสของเจ้ามรดก
๓. สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทโดยธรรม
๓.๑ สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทประเภทญาติของเจ้ามรดก
๓.๒ สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทประเภทคู่สมรส
๓.๓ สิทธิของคู่สมรสในกรณีที่เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิต
๓.๔ สิทธิหน้าที่ของคู่สมรสที่เป็นคู่สัญญารับเงินรายปี
๓.๕ สิทธิของทายาทที่เป็นพระภิกษุ
🍧 บทที่ ๔ ผู้ได้ทรัพย์สินของผู้ตายโดยเหตุอื่นนอกจากการเป็นทายาท
๑. วัด (มรดกของพระภิกษุ)
๒. แผ่นดิน (มรดกไม่มีผู้รับ)
🍧 บทที่ ๕ การเสียสิทธิในการรับมรดก
๑. การกำจัดมิให้รับมรดก
๑.๑ การถูกกำจัดฐานยักย้ายหรือปิดบังมรดก
๑.๒ การกำจัดฐานเป็นผู้ไม่สมควรได้รับมรดก
๒. การตัดมิให้รับมรดก
๒.๑ การตัดโดยชัดแจ้ง
๒.๒ การตัดโดยปริยาย
๒.๓ ผลของการตัดมิให้รับมรดก
๒.๔ การถอนการตัดมิให้รับมรดก
๓. การสละมรดก
๓.๑ หลักเกณฑ์ทั่วไปของการสละมรดก
๓.๒ แบบและความสามารถในการสละมรดก
๓.๓ ผลของการสละมรดก
๓.๔ การเพิกถอนการสละมรดก
🍧 บทที่ ๖ พินัยกรรมและผู้รับพินัยกรรม
๑. ลักษณะของพินัยกรรม
๒. ความสามารถในการทำพินัยกรรม และความสามารถของผู้รับพินัยกรรม
๒.๑ ความสามารถในการทำพินัยกรรม
๒.๒ ความสามารถของผู้รับพินัยกรรม
๓. ประเภทของผู้รับพินัยกรรม
๓.๑ ผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
๓.๒ ผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
๔. สิทธิและความรับผิดของผู้รับพินัยกรรม
๕. แบบของพินัยกรรม
๕.๑ พินัยกรรมแบบไม่ได้เขียนเอง (แบบธรรมดา)
๕.๒ พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
๕.๓ พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
๕.๔ พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
๕.๕ พินัยกรรมแบบเอกสารลับสำหรับบุคคลบางประเภท
๕.๖ พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา
๕.๗ พินัยกรรมสำหรับบุคคลบางประเภท
๖. ผู้เขียนและพยานในพินัยกรรม
๑. การลงชื่อผู้เขียนและพยานในพินัยกรรม
๒. พยานต้องทราบข้อความในพินัยกรรมหรือไม่
๓. บุคคลที่ต้องห้ามมิให้เป็นพยานในการทำพินัยกรรม
๔. สิทธิของผู้เขียนและพยานในการรับทรัพย์ตามพินัยกรรม
๕. พยานในพินัยกรรมกับพยานในการทำพินัยกรรม
๗. ผลของพินัยกรรมและผลบังคับของพินัยกรรม
๗.๑ ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนไขบังคับก่อน
๗.๒ การตั้งผู้จัดการทรัพย์สิน
๗.๓ ผลของพินัยกรรมมีเงื่อนไขบังคับหลัง
๗.๔ ผลแห่งพินัยกรรมมีเงื่อนเวลา
๗.๕ ผลของพินัยกรรมก่อตั้งมูลนิธิ
๗.๖ ผลของพินัยกรรมเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินอันเป็นวัตถุแห่งข้อกำหนดพินัยกรรม
๗.๗ ผลของพินัยกรรมเกี่ยวกับหนี้สิน
๗.๘ ผลของพินัยกรรมเกี่ยวกับการก่อตั้งทรัสต์
๗.๙ ผลของพินัยกรรมเกี่ยวกับการตั้งผู้ปกครองทรัพย์
๘. การตีความในพินัยกรรม
๙. พินัยกรรมกำหนดผู้รับพินัยกรรมโดยคุณสมบัติ
๑๐. ความไม่เป็นผลของพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
๑๐.๑ การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
๑๐.๒ การตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
๑๐.๓ ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
๑๐.๔ การขอให้ศาลสั่งเพิกถอนพินัยกรรม
🍧 บทที่ ๗ การจัดการมรดก
๑. ผู้จัดการมรดก
๑.๑ การตั้งผู้จัดการมรดก
๑.๒ บุคคลที่ต้องห้ามมิให้เป็นผู้จัดการมรดก
๑.๓ อำนาจและหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
๑.๔ ความรับผิดของผู้จัดการมรดก
๑.๕ สิทธิของผู้จัดการมรดก
๑.๖ ความสิ้นสุดแห่งการจัดการมรดกและความสิ้นสุดแห่งการเป็นผู้จัดการมรดก
🍧 บทที่ ๘ การรวบรวมจำหน่ายทรัพย์มรดกเป็นตัวเงินและการชำระหนี้ของกองมรดก
๑. สิทธิของเจ้าหนี้ในการฟ้องบังคับเอาชำระหนี้
๒. ลำดับของหนี้ที่จะได้รับชำระ
๓. ลำดับของทรัพย์มรดกที่จะนำออกชำระหนี้
๔. วิธีชำระหนี้ของกองมรดก
๔.๑ ชำระโดยการขายทอดตลาดหรือตีราคาทรัพย์
๔.๒ ชำระโดยให้เจ้าหนี้เป็นผู้รับประโยชน์ตามสัญญาประกันชีวิต
๔.๓ ชำระโดยลูกหนี้ทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินให้
🍧 บทที่ ๙ การแบ่งมรดก
๑. สิทธิในการขอแบ่งมรดก
๑.๑ สิทธิขอแบ่งมรดกของทายาทที่ได้ครอบครองทรัพย์มรดก
๑.๒ สิทธิขอแบ่งมรดกที่ไม่มีทายาทครอบครอง
๑.๓ ข้อตกลงมิให้แบ่งมรดก
๑.๔ สิทธิร้องสอดเข้ารับมรดก
๑.๕ การเรียกทายาทให้เข้ามารับส่วนแบ่งและการกันส่วนไว้เพื่อทายาทอื่น
๒. วิธีแบ่งมรดก
๒.๑ แบ่งโดยการเข้าครอบครองมรดกเป็นส่วนสัด
๒.๒ แบ่งโดยการขายทรัพย์มรดก
๒.๓ แบ่งโดยทำเป็นสัญญา
๒.๔ ทายาทผู้ได้รับแบ่งถูกรอนสิทธิ
🍧 บทที่ ๑๐ อายุความเกี่ยวกับมรดก
๑. อายุความฟ้องคดีมรดก
๒. อายุความสิทธิเรียกร้องตามข้อกำหนดพินัยกรรม
๓. อายุความสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้กองมรดก
๔. อายุความสิบปีในวรรคท้ายของมาตรา ๑๗๕๔
๕. สิทธิยกอายุความขึ้นต่อสู้
📌การแก้ไข: อัปเดตคำพิพากษาฎีกาฉบับล่าสุด ไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหา