คำอธิบาย
🪐ผู้เขียน: ศาสตราจารย์พิเศษไพโรจน์ วายุภาพ (อดีตประธานศาลฎีกา)
🪐รหัสสินค้า: 9786166168495
☂️ บทคัดย่อ/สารบาญ ☂️
ข้อความเบื้องต้น
๑. บทบัญญัติที่ใช้บังคับกับการอุทธรณ์และฎีกา
๒. ลักษณะของการดำเนินกระบวนพิจารณาในชั้นอุทธรณ์และฎีกา
๓. ลักษณะพิเศษของวิธีพิจารณาในศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกา
๔. กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับคำร้องคำขอที่ยื่นต่อศาลชั้นอุทธรณ์และศาลฎีกา
๕. กระบวนพิจารณาในชั้นอุทธรณ์และฎีกาที่ทำโดยศาลชั้นต้น
๖. ปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหาข้อกฎหมาย
🍓ลักษณะ ๑ อุทธรณ์
บทที่ ๑ การอุทธรณ์ (ม.๒๒๓)
บทที่ ๒ ผู้มีสิทธิอุทธรณ์
บทที่ ๓ ข้อจำกัดสิทธิอุทธรณ์
บทที่ ๔ คำฟ้องอุทธรณ์
บทที่ ๕ การยื่นอุทธรณ์ (ม.๒๒๙)
บทที่ ๖ การทุเลาการบังคับในชั้นอุทธรณ์ (ม.๒๓๑)
บทที่ ๗ การสั่งอุทธรณ์ (ม.๒๓๒)
บทที่ ๘ การอุทธรณ์คำสั่งไม่รับอุทธรณ์ (ม.๒๓๔)
บทที่ ๙ การส่งสำเนาอุทธรณ์ (ม.๒๓๕, ม.๒๓๖ วรรคสอง)
บทที่ ๑๐ คำแก้อุทธรณ์ (ม.๒๓๗)
บทที่ ๑๑ การถอนอุทธรณ์
บทที่ ๑๒ การพิจารณาคดีของศาลชั้นอุทธรณ์ (ม.๒๔๐)
บทที่ ๑๓ การชี้ขาดตัดสินอุทธรณ์
บทที่ ๑๔ การอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั้นอุทธรณ์ (ม.๒๔๔)
บทที่ ๑๕ ผลของคำพิพากษาศาลชั้นอุทธรณ์ (ม.๒๔๕)
🍓ลักษณะ ๒ ฎีกา
บทที่ ๑ การฎีกา
บทที่ ๒ ผู้มีสิทธิฎีกา
บทที่ ๓ คำฟ้องฎีกา
บทที่ ๔ การขออนุญาตฎีกา (ม.๒๔๗, ๒๕๐)
บทที่ ๕ การสั่งฎีกา
บทที่ ๖ การทุเลาการบังคับชั้นฎีกา
บทที่ ๗ การส่งสำเนาฎีกา
บทที่ ๘ คำแก้ฎีกา
บทที่ ๙ การถอนฎีกา
บทที่ ๑๐ การพิจารณาคดีของศาลฎีกา
บทที่่ ๑๑ การชี้ขาดตัดสินฎีกา
บทที่ ๑๒ การอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลฎีกา
บทที่ ๑๓ ผลของคำพิพากษาศาลฎีกา
🥕การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 7 : ปรับปรุงเนื้อหาและตรวจสอบคำพิพากษาที่จัดพิมพ์โดยเนติบัณฑิตยสภาถึงปี 2566 ตอน 12 ปี 2567 ตอน 1