Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คำอธิบายกฎหมายล้มละลาย

Original price was: ฿ 430.00.Current price is: ฿ 408.50.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 1220 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ชีพ จุลมนต์ และ ดร. กนก จุลมนต์

รหัสสินค้า

9786164041301

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

631

พิมพ์ครั้งที่

9 : พฤษภาคม 2567

มีสินค้าอยู่ 1

คำอธิบาย

🍒 ผู้เขียน: ชีพ จุลมนต์ (อดีตประธานศาลฎีกา) และ ดร. กนก จุลมนต์ (ผู้พิพากษาศาลชั้นต้น ประจำสำนักประธานศาลฎีกา)
🍒 รหัสสินค้า:
9786164041301

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
🥕ภาค ๑ การดำเนินคดีล้มละลาย
บทนำ
บทที่ ๑
การขอให้ล้มละลาย
๑. การฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลาย
๒. การขอให้ล้มละลายในกรณีอื่น

บทที่ ๒ กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย
๑. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย

๒. กฎหมายที่ใช้ในการดำเนินคดีล้มละลาย
๓. ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการขอให้ล้มละลาย
๔. การกำหนดวันนั่งพิจารณาและคำให้การจำเลย
๕. การพิจารณาและคำวินิจฉัยชี้ขาดคดีล้มละลาย
๖. การให้โอกาสจำเลยในการต่อสู่คดี
๗. คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราว
๘. การถอนฟ้องคดีล้มละลาย
๙. คำขอให้พิจารณาคดีใหม่
บทที่ ๓ กระบวนพิจารณาหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
๑. การแจ้งคำพิพากษาหรือคำสั่ง

๒. การประกาศโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
๓. การออกหมายเรียกลูกหนี้มาสอบสวนเกี่ยวกับกิจการหรือทรัพย์สิน
๔. การยึดดวงตรา สมุดบัญชี เอกสาร และทรัพย์สิน
๕. การจัดการทรัพย์สินและกิจการของลูกหนี้
๖. การห้ามเจ้าหนี้ฟ้องคดีแพ่งอันเกี่ยวกับหนี้ซึ่งอาจขอรับชำระได้
บทที่ ๔ การประนอมหนี้
๑. การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
๒. การประนอมหนี้ภายหลังล้มละลาย

บทที่ ๕ การประชุมเจ้าหนี้และกรรมการเจ้าหนี้
๑. การประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก

๒. การประชุมเจ้าหนี้ครั้งอื่น
๓. ประธานในการประชุมเจ้าหนี้
๔. องค์ประชุมของที่ประชุมเจ้าหนี้
๕. เจ้าหนี้ที่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเจ้าหนี้
๖. ศาลอาจมีคำสั่งห้ามมิให้ปฏิบัติตามมติของที่ประชุมเจ้าหนี้
๗. กรรมการเจ้าหนี้
บทที่ ๖ คำพิพากษาให้ล้มละลาย
๑. กรณีลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามข้อตกลงในการประนอมหนี้

๒. กรณีลูกหนี้ไม่ได้ขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายหรือการขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายไม่เป็นผลสำเร็จ
๓. การเริ่มต้นของการล้มละลาย
บทที่ ๗ การควบคุมตัวและทรัพย์สินของลูกหนี้ และการจำกัดสิทธิ
๑. การไปร่วมประชุมเจ้าหนี้และเป็นธุระในการจำหน่ายทรัพย์สิน

๒. การกำหนดเงินเพื่อใช้จ่ายเลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว
๓. ลูกหนี้ถูกห้ามออกไปนอกราชอาณาจักร
บทที่ ๘ การปลดจากล้มละลาย
๑. การปลดจากล้มละลายโดยคำสั่งศาล

๒. การปลดจากล้มละลายเมื่อพ้นกำหนดเวลา
บทที่ ๙ การขอรับชำระหนี้
๑. วิธีการขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย

๒. การขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้มีประกัน
๓. การขอรับชำระหนี้ในส่วนที่เป็นดอกเบี้ยหรือค่าป่วยการอื่นแทนดอกเบี้ย
๔. การขอรับชำระหนี้ที่ตนอาจใช้สิทธิไล่เบี้ยในเวลาภายหน้า
๕. การหักกลบลบหนี้ในคดีล้มละลาย
๖. การตรวจคำขอรับชำระหนี้และการสอบสวนคำขอรับชำระหนี้
๗. คำสั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือศาลเกี่ยวกับคำขอรับชำระหนี้
๘. การคัดค้านหรืออุทธรณ์คำสั่งเกี่ยวกับคำขอรับชำระหนี้
บทที่ ๑๐ ผลของการล้มละลายเกี่ยวกับกิจการที่ได้กระทำไปแล้ว
๑. คำสั่งของศาลที่ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์ของลูกหนี้ไว้ชั่วคราวหรือหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้

๒. การเพิกถอนการฉ้อฉล
๓. การเพิกถอนการโอนทรัพย์สินหรือการกระทำใดๆ ซึ่งลูกหนี้ได้กระทำหรือยินยอมให้กระทำโดยมุ่งหมายให้เจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดได้เปรียบแก่เจ้าหนี้อื่น
บทที่ ๑๑ การรวบรวมและจำหน่ายทรัพย์สิน
๑. การเรียกลูกหนี้มาสอบสวน

๒. กรณีบุคคลรับว่าเป็นหนี้ลูกหนี้ที่ถูกพิทักษ์ทรัพย์
๓. การทวงหนี้
๔. การชำระสะสางธุรกิจของลูกหนี้ที่ค้างอยู่
๕. การอายัดเงินเดือน บำนาญ บำเหน็จ เบี้ยหวัด ของลูกหนี้
๖. การไม่ยอมรับทรัพย์สินหรือสิทธิตามสัญญาของลูกหนี้
๗. การแบ่งทรัพย์สิน
บทที่ ๑๒ การปิดคดีและการยกเลิกการล้มละลาย
๑. การปิดคดี

๒. การยกเลิกการล้มละลาย
บทที่ ๑๓ บทบัญญัติเบ็ดเสร็จ
๑. การดำเนินการที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องได้รับความเห็นชอบของกรรมการเจ้าหนี้

๒. การโต้แย้งการกระทำหรือคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
๓. การร้องขัดทรัพย์ในคดีล้มละลาย
๔. ค่าธรรมเนียม
🥕ภาค ๒ กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
บทที่ ๑ หลักการของกฎหมายฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ และความสำคัญของการฟื้นฟูกิจการต่อเศรษฐกิจของประเทศ
๑. หลักการของกฎหมายฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้

๒. ความสำคัญของคดีฟื้นฟูกิจการต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ
๓. ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาเมื่อลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ได้
บทที่ ๒ การขอและการให้ฟื้นฟูกิจการ
๑. การขอและการให้ฟื้นฟูกิจการ

๒. ลูกหนี้ที่มีสิทธิเข้าสู่กระบวนการพิจารณาคดีฟื้นฟูกิจการ
๓. บุคคลที่มีสิทธิยื่นคำร้องขอให้มีการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
๔. หลักเกณฑ์ในการยื่นคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการ
บทที่ ๓ กระบวนพิจารณาหลังจากมีการยื่นคำร้องขอและคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
๑. การถอนคำร้องขอ

๒. บุคคลที่มีสิทธิยื่นคำคัดค้าน
๓. คำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
๔. การยื่นคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการใหม่
๕. สภาวะพักการชำระหนี้หรือสภาวะหยุดนิ่ง
บทที่ ๔ การตั้งผู้ทำแผน
๑. คุณสมบัติของผู้ทำแผน

๒. การตั้งผู้ทำแผน
๓. อำนาจและหน้าที่ของผู้ทำแผน
๔. หนี้ที่ผู้ทำแผนก่อขึ้น
บทที่ ๕ อำนาจในการจัดการกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ เมื่อศาลมีคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
บทที่ ๖ การขอรับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการ
๑. ระยะเวลาการยื่นคำขอรับชำระหนี้

๒. การขอแก้ไขเพิ่มเติมคำขอรับชำระหนี้
๓. ลักษณะของมูลหนี้ที่สามารถยื่นคำขอรับชำระหนี้
๔. กรณีเจ้าหนี้มีประกัน
๕. คำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เกี่ยวกับคำขอรับชำระหนี้
๖. การหักกลบลบหนี้ในคดีฟื้นฟูกิจการ
บทที่ ๗ คำชี้แจงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้
บทที่ ๘ การเพิกถอนนิติกรรมที่ได้กระทำไปแล้ว
๑. การเพิกถอนนิติกรรมที่เป็นการฉ้อฉล

๒. การเพิกถอนนิติกรรมที่เป็นการให้เปรียบ
๓. การไม่ยอมรับทรัพย์สินของลูกหนี้หรือสิทธิตามสัญญา ที่มีภาระเกินควรกว่าประโยชน์ที่จะพึงได้
บทที่ ๙ การประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาแผนฟื้นฟูกิจการ
๑. รายการในแผน

๒. ผู้บริหารแผนและค่าตอบแทนของผู้บริการแผน
๓. ระยะเวลาดำเนินการตามแผน
๔. การจัดกลุ่มเจ้าหนี้
๕. สิทธิได้รับชำระหนี้ของเจ้าหนี้แต่ละกลุ่ม
๖. การนัดประชุมเจ้าหนี้
๗. การนัดประชุมเจ้าหนี้
๘. การลงมติว่าเจ้าหนี้ยอมรับหรือไม่ยอมรับแผน
๙. คณะกรรมการเจ้าหนี้
บทที่ ๑๐ การพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนฟื้นฟูกิจการ
๑. หลักเกณฑ์ที่ศาลใช้ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบแผน

๒. อำนาจและหน้าที่ของผู้บริหารแผน
บทที่ ๑๑ การดำเนินการภายหลังศาลมีคำสั่งเห็นชอบแผนฟื้นฟูกิจการ
๑. ผลผูกมัดของแผนซึ่งศาลมีคำสั่งเห็นชอบ
๒. การแก้ไขแผน
บทที่ ๑๒ การยกเลิกคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ การยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ และคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดในการฟื้นฟูกิจการ

๑. กรณีและผลของการยกเลิกคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
๒. การยกเลิกการฟื้นฟูกิจการและผลของการยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ
๓. คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดในการฟื้นฟูกิจการ
บทที่ ๑๓ การอุทธรณ์และฎีกาคำสั่งหรือคำพิพากษาในคดีฟื้นฟูกิจการ
๑. หลักเกณฑ์การอุทธรณ์

๒. หลักเกณฑ์การฎีกา
บทที่ ๑๔ กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
๑. ความหมายของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
๒. ความสำคัญของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อระบบเศรษฐกิจ
๓. เหตุผลที่ต้องมีบทบัญญัติในส่วนการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นการเฉพาะ
๔. ลูกหนี้ที่มีสิทธิเข้าสู่กระบวนพิจารณา
๕. หลักเกณฑ์ในการขอให้ฟื้นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
๖. รายการในแผน
๗. การพิจารณาคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
๘. การดำเนินการภายหลังศาลมีคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
๙. ยกเลิกคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนและการยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ
๑๐. ประเด็นอื่นๆ : การลดค่าใช้จ่ายในกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่เป็น SMEs
บทที่ ๑๕ บทสรุปกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้

 

🍒 การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 9 : ปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาและเพิ่มเติมคำพิพากษาศาลฎีกาจนถึงปีปัจจุบัน