Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานสัมพันธ์

Original price was: ฿ 180.00.Current price is: ฿ 171.00.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 270 กรัม
ขนาด 21 × 14.6 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

นันทพล พุทธพงษ์

รหัสสินค้า

9789742039141

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

232

พิมพ์ครั้งที่

2 : มิถุนายน 2566

สินค้าหมดแล้ว

รหัสสินค้า: 9789742039141 หมวดหมู่: , Product ID: 73550

คำอธิบาย

🍧 ผู้เขียน: นันทพล พุทธพงษ์
🍧 รหัสสินค้า: 9789742039141

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
✺ บทที่ 1 วิวัฒนาการและความหมายของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
1.1 การเกิดขึ้นของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ในประเทศอังกฤษ
1.2 วิวัฒนาการของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ในประเทศไทย
1.3 ความหมายของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์และการแรงงานสัมพันธ์
✺ บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน
2.1 สัญญาจ้างแรงงาน
2.2 ความหมาย ประเภท และเจตนารมณ์ของกฎหมายแรงงาน
2.3 แรงงานและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
2.4 เศรษฐศาสตร์กับกฎหมายแรงงาน
2.5 ทฤษฎี Collective Laissez-faire
✺ บทที่ 3 มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศว่าด้วย แรงงานสัมพันธ์
3.1 ความหมายและประเภทของมาตรฐานแรงงาน
3.2 องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
3.3 ปฏิญญาฟิลาเดลเฟีย
3.4 ปฏิญญาว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในการทำงาน
3.5 อนุสัญญาฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัวกัน ปี ค.ศ. 1948
3.6 อนุสัญญาฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวกันและการร่วมเจรจาต่อรอง ค.ศ. 1949
3.7 มาตรฐานแรงงานกับการค้าระหว่างประเทศ
✺ บทที่ 4 ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
4.1 ความหมายของสภาพการจ้าง
4.2 ความหมายของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
4.3 ประเภทของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
4.4 การแบ่งแยกข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างในสถานประกอบกิจการ
4.5 ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่ไม่ได้เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง
4.6 ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างที่เกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง
✺ บทที่ 5 วิธีการระงับข้อพิพาทแรงงาน
5.1 ความหมายของข้อพิพาทแรงงาน
5.2 หลักการทั่วไปของการไกล่เกลี่ย/การประนอม
5.3 การไกล่เกลี่ยโดยพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน
5.4 ข้อพิพาทแรงงานที่ตกลงกันไม่ได้
5.5 การระงับข้อพิพาทแรงงานในกรณีพิเศษ
✺ บทที่ 6 การนัดหยุดงาน-การปิดงาน
6.1 สิทธิในการนัดหยุดงาน
6.2 สิทธิในการปิดงาน
6.3 อำนาจของรัฐมนตรีเกี่ยวกับการนัดหยุดงาน-การปิดงาน
✺ บทที่ 7 คณะกรรมการลูกจ้าง
7.1 แนวคิดเกี่ยวกับคณะกรรมการลูกจ้าง
7.2 การจัดตั้งคณะกรรมการลูกจ้าง
7.3 บทบาทของนายจ้างที่พึงมีต่อคณะกรรมการลูกจ้าง
7.4 บทบัญญัติในการคุ้มครองคณะกรรมการลูกจ้าง
7.5 กรณีเปรียบเทียบคณะกรรมการลูกจ้างและระบบสภาลูกจ้างในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
✺ บทที่ 8 องค์การแรงงานฝ่ายนายจ้าง
8.1 ความหมายและประเภทขององค์การแรงงานฝ่ายนายจ้าง
8.2 การจัดตั้งสมาคมนายจ้าง
8.3 อำนาจหน้าที่ของสมาคมนายจ้าง
8.4 การดำเนินกิจการที่ต้องได้รับมติจากที่ประชุมใหญ่
8.5 การคุ้มครองจากการกล่าวหาหรือฟ้องร้องทางอาญาหรือทางแพ่ง
8.6 การเลิกสมาคมนายจ้าง
8.7 สหพันธ์นายจ้าง
8.8 สภาองค์การนายจ้าง
✺ บทที่ 9 องค์การแรงงานฝ่ายลูกจ้าง
9.1 ความหมายและประเภทขององค์การแรงงานฝ่ายลูกจ้าง
9.2 การจัดตั้งสหภาพแรงงาน
9.3 อำนาจหน้าที่ของสหภาพแรงงาน
9.4 การดำเนินกิจการที่ต้องได้รับมติจากที่ประชุมใหญ่
9.5 การคุ้มครองจากการกล่าวหาหรือฟ้องร้องทางอาญาหรือทางแพ่ง
9.6 การควบสหภาพแรงงาน
9.7 การเลิกสหภาพแรงงาน
9.8 สหพันธ์แรงงาน
9.9 สภาองค์การลูกจ้าง
✺ บทที่ 10 บทบัญญัติในการคุ้มครองลูกจ้าง
10.1 เหตุผลในการคุ้มครองลูกจ้าง
10.2 บทบัญญัติคุ้มครองลูกจ้างตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
10.3 บทบัญญัติคุ้มครองลูกจ้างจากการกระทำอันไม่เป็นธรรม
10.4 เขตอำนาจพิจารณาคดีของศาลแรงงาน
บรรณานุกรม
ประวัติผู้เขียน

📌การแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 : เนื้อหาเหมือนเดิม

ส่งสินค้าฟรีเมื่อสั่งซื้อครบ 1,000 บาท

ส่งสินค้าฟรีเมื่อสั่งซื้อครบ 1,000 บาท

บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด

จำหน่าย หนังสือกฎหมาย ประมวลกฎหมาย ตำรากฎหมาย คำอธิบายกฎหมาย

Winyuchon Publication House © 2024. All Rights Reserved.