คำอธิบาย
🍒 ผู้เขียน: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
🍒 รหัสสินค้า: 9789742039288
บทคัดย่อ/สารบาญ
💰 พระราชบัญญัติการเล่นแชร์ พ.ศ. ๒๕๓๔
๑. ชื่อพระราชบัญญัติ (มาตรา ๑)
๒. วันใช้บังคับกฎหมาย (มาตรา ๒)
๓. บทห้ามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับและประกาศที่ขัดแย้ง (มาตรา ๓)
๔. คำนิยาม (มาตรา ๔)
๕. บทห้ามและบทกำหนดโทษนิติบุคคล (มาตรา ๕, ๘, ๑๖, ๑๘, ๒๖)
๖. บทห้ามและบทกำหนดโทษบุคคลธรรมดา (มาตรา ๖, ๑๗)
๗. สมาชิกวงแชร์มีสิทธิฟ้องคดีหรือใช้สิทธิเรียกร้องเอากับนายวงแชร์หรือผู้จัดให้มีการเล่นแชร์ (มาตรา ๗)
๘. บทห้ามโฆษณาชี้ชวนและบทกำหนดโทษ (มาตรา ๙, ๑๙)
๙. บทห้ามใช้ชื่อหรือคำแสดงคำว่า “แชร์” และบทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๐, ๒๐)
๑๐. บทผ่อนผันวงแชร์ที่ค้างอยู่และการยกเลิกวัตถุประสงค์นิติบุคคลและบทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๑, ๒๑, ๒๒)
๑๑. อำนาจและการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่และบทกำหนดโทษ (มาตรา ๑๒-๑๕, ๒๓-๒๕)
๑๒. บทผ่อนผันการเล่นแชร์ที่ค้างอยู่ การเปลี่ยนวัตถุประสงค์ สัญญาที่นิติบุคคลได้กระทำไว้แล้ว และคำแสดงชื่อ “แชร์” (มาตรา ๒๗-๒๙)
๑๓. ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ (มาตรา ๓๐)
๑๔. เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติ
💰 ความผิดฐานฉ้อโกง (มาตรา ๓๔๑-๓๔๘)
๑. ฉ้อโกง (มาตรา ๓๔๑)
๒. ฉ้อโกงโดยแสดงตนเป็นคนอื่นหรืออาศัยความเบาปัญญาของผู้ถูกหลอกลวง (มาตรา ๓๔๒)
๓. ฉ้อโกงประชาชน (มาตรา ๓๔๓)
๔. ฉ้อโกงแรงงาน (มาตรา ๓๔๔)
๕. ฉ้อโกงค่าอาหาร ค่าโรงแรม (มาตรา ๓๔๕)
๖. ฉ้อโกงโดยอาศัยเหตุทางจิตใจผู้ถูกหลอกลวง (มาตรา ๓๔๖)
๗. ฉ้อโกงเพื่อให้ได้รับประโยชน์จากประกันวินาศภัย (มาตรา ๓๔๗)
๘. ความผิดตามมาตรา ๓๔๑-๓๔๗ ยกเว้นมาตรา ๓๔๓ เป็นความผิดอันยอมความได้ (มาตรา ๓๔๘)
💰 ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ (มาตรา ๓๔๙-๓๕๑)
๑. โกงเจ้าหนี้ผู้รับจำนำ (มาตรา ๓๔๙)
๒. โกงเจ้าหนี้ซึ่งได้ใช้หรือจะใช้สิทธิเรียกร้องทางศาลให้ชำระหนี้ (มาตรา ๓๕๐)
💰 ความผิดฐานยักยอก (มาตรา ๓๕๒-๓๕๖)
๑. ยักยอก (มาตรา ๓๕๒)
๒. กระทำผิดหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้จัดการทรัพย์สินของผู้อื่น (มาตรา ๓๕๓)
๓. ผู้จัดการทรัพย์สินฯ หรือผู้มีอาชีพหรือธุรกิจฯ กระทำความผิดตามมาตรา ๓๕๒, ๓๕๓ (มาตรา ๓๕๔)
๔. ผู้เก็บได้ซึ่งสังหาริมทรัพย์อันมีค่า (มาตรา ๓๕๕)
๕. ความผิดตามมาตรา ๓๕๒-๓๕๕ เป็นความผิดอันยอมความได้ (มาตรา ๓๕๖)
ภาคผนวก
๑. ตัวอย่างคำฟ้อง
๒. พระราชบัญญัติการเล่นแชร์ พ.ศ. ๒๕๓๔
๓. กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๓๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติการเล่นแชร์ พ.ศ. ๒๕๓๔
บรรณานุกรม
💰การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 3: เพิ่มแนวคำพิพากษาศาลฎีกาล่าสุด