Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐและเอกชนภายใต้กฎหมายการลงทุนระหว่างประเทศ

Original price was: ฿ 480.00.Current price is: ฿ 456.00.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 820 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ดร. ธีรวัฒน์ ว่องแก้ว

รหัสสินค้า

9789742039370

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

476

พิมพ์ครั้งที่

1 : กันยายน 2567

สินค้าหมดแล้ว

รหัสสินค้า: 9789742039370 หมวดหมู่: , Product ID: 93406

คำอธิบาย

🍧ผู้เขียน: ดร. ธีรวัฒน์ ว่องแก้ว (กระทรวงการต่างประเทศ รับผิดชอบงานกฎหมายด้านการลงทุนระหว่างประเทศ)
🍧รหัสสินค้า: 9789742039370

 

สารบัญ
🍡 หมวดที่ 1 : กรอบวิเคราะห์ประเภทความเสี่ยงทางการเมืองและการบริหารความเสี่ยงด้วยสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
1. ข้อพิพาทด้านการลงทุนระหว่างประเทศและความเสี่ยงทางการเมืองในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
1.1 ความเสี่ยงทางการเมืองที่เข้มข้นขึ้นกับภูมิทัศน์การลงทุนในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
1.2 ตัวอย่างความเสี่ยงทางการเมืองในบริบทโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
1.3 ความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงทางการเมืองต่อการลงทุนในต่างประเทศ
1.4 แนวทางการจัดการความเสี่ยงทางการเมือง
2. ความเป็นมาของสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
2.1 การคุ้มครองการลงทุนในยุคล่าอาณานิคม
2.2 การคุ้มครองการลงทุนในยุคหลังล่าอาณานิคม
2.3 การคุ้มครองการลงทุนในยุคสากล
2.4 การคุ้มครองการลงทุนในยุคอนาคตแห่งการเปลี่ยนแปลง
3. ภาพรวมของสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
3.1 คุ้มครองอะไรและคุ้มครองใคร: การลงทุนและนักลงทุน
3.2 สิทธิการคุ้มครองการลงทุน
3.3 ภูมิทัศน์ของสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนและข้อพิพาทการลงทุนในโลก
4. สนธิสัญญาคุ้มครองอะไรและคุ้มครองใคร: นิยามการลงทุนและนักลงทุน
4.1 การลงทุนใดบ้างจะได้รับการคุ้มครอง
4.2 นักลงทุน
4.3 การใช้สิทธิฟ้องร้องของผู้ถือหุ้น
4.4 การจัดโครงการสร้างบริษัทเพื่อรับสิทธิประโยชน์ตามสนธิสัญญาฯ
🍡 หมวดที่ 2 การประยุกต์ใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนเพื่อระงับข้อพิพาทจากความเสี่ยงทางการเมือง
5. สิทธิในการได้รับการส่งเสริมการลงทุนและการอนุญาตเข้ามาลงทุน
5.1 พันธกรณีของรัฐผู้รับการลงทุนในการส่งเสริมการลงทุน
5.2 การลงทุนต้องปฏิบัติตามกฎหมายภายใน
5.3 การห้ามกำหนดเงื่อนไขการลงทุน
6. การเยียวยาความเสียหายจากการละเมิดสัญญา
6.1 การละเมิดสัญญาเพียงอย่างเดียวไม่ถือเป็นการละเมิดสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนหรือกฎหมายระหว่างประเทศ
6.2 การใช้ข้อบทต่างๆ ในสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนเพื่อเยียวยาการละเมิดสัญญา
6.3 แนวทางการใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนในกรณีต่างๆ ที่เกี่ยวกับพันธกรณีตามสัญญา
7. การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบที่เกี่ยวกับการลงทุน
7.1 ข้อบทในสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนและเสถียรภาพทางกฎหมาย
7.2 ตัวอย่างการใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนในกรณีมีการแก้ไขกฎหมาย
8. ความเสี่ยงจากการถูกยกเลิกใบประกอบธุรกิจ
8.1 การถูกเพิกถอนใบประกอบธุรกิจและสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
8.2 ตัวอย่างการใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนในกรณีการเพิกถอนใบประกอบธุรกิจและใบอนุญาตต่างๆ
8.3 การเสียสิทธิของนักลงทุนจากการไม่เปิดเผยข้อมูลให้ครบถ้วน
8.4 การปฏิเสธใบประกอบธุรกิจเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชุมชนโดยไม่เลือกประติบัติ
9. มาตรการทางภาษีและสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
9.1 ข้อบทสนธิสัญญาที่อาจนำมาใช้สำหรับมาตรการทางภาษี
9.2 แนวทางการใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนกับมาตรการทางภาษี
10. การเวนคืนทรัพย์สิน
10.1 การใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนเพื่อเยียวยามาตรการเวนคืนในปัจจุบัน
10.2 การนำสนธิสัญญาฯ มาใช้กับมาตรการเวนคืน
11. มาตรการเลือกประติบัติและการลงทุนในต่างประเทศ
11.1 แนวความคิดหลักเรื่องการเลือกประติบัติ
11.2 ตัวอย่างมาตรการที่ขัดกับการประติบัติเยี่ยงคนชาติ
11.3 การละเมิดข้อบทการประติบัติเยี่ยงชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยิ่งหรือเยี่ยงชาติที่สาม
12. ความเสี่ยงจากกระบวนการศาลหรือกระบวนการทางปกครองของหน่วยงานของรัฐ
12.1 การใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนในกรณีกระบวกการพิจารณาโดยหน่วยงานของรัฐมีความผิดปกติ
12.2 แนวทางการใช้สนธิสัญญาฯ สำหรับกระบวนการทางปกครองที่มีความผิดปกติ
13. มาตรการจำกัดการโอนเงินโดยเสรี
13.1 เงื่อนไขและขอบเขตของสิทธิประโยชน์เรื่องการโอนโดยเสรีภายใต้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
13.2 การใช้มาตรการจำกัดการโอนในกรณีที่ไม่มีข้อบทยกเว้นในสนธิสัญญาฯ จะต้องเกี่ยวข้องกับการลงทุน
13.4 มาตรการจำกัดการโอนเงินทุน: เครื่องมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญของรัฐ
13.5 เสรีภาพของการโอนเงินที่มีอยู่จริง
13.6 เสรีภาพในการโอนและการยึดทรัพย์สิน
14. การคุ้มครองการลงทุนในสถานการณ์ความขัดแย้งหรือสงคราม
14.1 การคุ้มครองการลงทุนในสถานการณ์ความขัดแย้ง
14.2 การชดเชยค่าเสียหายต่อนักลงทุนต่างชาติตามที่ได้จ่ายให้กับคนชาติ
14.3 การชดเชยค่าเสียหายจากสงครามโดยไม่ต้องพิสูจน์ความผิดของรัฐ
15. มาตรการด้านสาธารณสุขและด้านสิ่งแวดล้อม และความเสี่ยงต่อการลงทุน
15.1 อำนาจของรัฐในการใช้มาตรการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
15.2 มาตรการด้านสาธารณสุขและผลกระทบต่อการลงทุน
15.3 มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม
🍡 หมวดที่ 3 การเรียกร้องสิทธิประโยชน์โดยการฟ้องร้องรัฐด้วยกลไกอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ
16. เมื่อคู่กรณีในข้อพิพาทเป็นรัฐวิสาหกิจ
16.1 หลักความรับผิดของรัฐต่อการกระทำของหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
16.2 แนวทางการนำสนธิสัญญาฯ ไปใช้ในการฟ้องร้องรัฐ
17. ภัยคุกคามทางไซเบอร์และสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
17.1 ภัยคุกคามทางไซเบอร์ในบริบทของข้อพิพาททางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
17.2 การใช้สนธิสัญญาฯ สำหรับภัยคุกคามทางไซเบอร์
17.3 ประเมินแนวโน้มการใช้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ในอนาคต
18. สิทธิในการฟ้องร้องรัฐด้วยกระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศภายใต้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
18.1 การระงับข้อพิพาทด้านการลงทุนระหว่างรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศ
18.2 การระงับข้อพิพาทด้านการลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนภายใต้สนธิสัญญาฯ
18.3 สิทธิในการได้รับการชดเชยค่าเสียหาย
18.4 การบังคับตามคำชี้ขาดและประเด็นที่เกี่ยวข้อง
19. ข้อต่อสู้ของรัฐในข้อพิพาทด้านการลงทุนระหว่างประเทศ
19.1 ภาพรวมข้อต่อสู้ของรัฐในการระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐกับเอกชนภายใต้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
19.2 ข้อยกเว้นตามสนธิสัญญาฯ
19.3 ข้อต่อสู้ตามกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
19.4 มาตรการฟ้องกลับ
🍡  หมวดที่ 4 นโยบายการคุ้มครองการลงทุนระหว่างประเทศของไทยและการคุ้มครองการลงทุนไทยในอาเซียน
20. นโยบายการทำสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนของไทย
20.1 ยุทธศาสตร์การจัดทำสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนของไทย
20.2 ข้อพิพาทภายใต้สนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนและผลกระทบต่อนโยบายการจัดทำสนธิสัญญาฯ
20.3 ทิศทางและอนาคตของนโยบายการคุ้มครองการลงทุนระหว่างประเทศของไทย
21. การคุ้มครองการลงทุนไทยในอาเซียนและสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุน
21.1 ความคุ้มครองการลงทุนไทยในอาเซียนภายใต้เครือข่ายสนธิสัญญาคุ้มครองการลงทุนในระดับทวิภาคีและอาเซียน
21.2 แนวโน้มการระงับข้อพิพาทด้านการลงทุนระหว่างรัฐ
บรรณานุกรม
ประวัติผู้เขียน