คำอธิบาย
🍭ผู้เขียน: ศาสตราจารย์ ดร. อำนาจ วงศ์บัณฑิต
🍭รหัสสินค้า: 9786164884274
สารบาญ
🍨 ตอนที่ 1: การใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำทั่วไป
บทที่ 1 สิทธิในน้ำ
1. บทนำ
2. สถานการณ์น้ำของประเทศไทย
3. แนวความคิดเกี่ยวกับสิทธิในน้ำ (Water Right)
4. สิทธิในน้ำตามกฎหมายไทย
บทที่ 2 การจัดสรรน้ำและการใช้น้ำ
1. การจัดสรรน้ำ
2. การแบ่งประเภทการใช้น้ำ
3. การขอรับและออกใบอนุญาตการใช้น้ำ
4. การตรวจสอบและควบคุมการใช้น้ำและการสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
5. ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตและค่าใช้น้ำ
บทที่ 3 การป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้งและภาวะน้ำท่วม
1. การใช้ประโยชน์ที่ดินในระบบทางน้ำตามผังน้ำเพื่อป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้งและภาวะน้ำท่วม
2. การป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้ง
3. การป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม
4. อำนาจและความรับผิดของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้งและน้ำท่วม
บทที่ 4 การอนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะ
1. การอนุรักษ์แหล่งต้นน้ำลำธารหรือพื้นที่ชุ่มน้ำ
2. การควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดินที่อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำสาธารณะ
3. การกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะ
4. กรณีมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะเกิดความเสียหายต่อทรัพยากรน้ำสาธารณะ
5. กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือภยันตรายที่มีผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำสาธารณะอย่างรุนแรง
บทที่ 5 องค์กรและเจ้าหน้าที่
1. คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
2. คณะกรรมการลุ่มน้ำ
3. ศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจ
4. สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
5. กรมทรัพยากรน้ำ
6. กรมชลประทาน
7. กรมทรัพยากรน้ำบาดาล
8. องค์กรผู้ใช้น้ำ
9. พนักงานเจ้าหน้าที่
บทที่ 6 ความรับผิดทางแพ่งและการเปรียบเทียบในคดีอาญา
1. ความรับผิดทางแพ่ง
2. การเปรียบเทียบในคดีอาญาตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561
🍨 ตอนที่ 2: การใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำในพื้นที่เฉพาะ
บทที่ 7 กฎหมายการชลประทานหลวง
1. การชลประทานในประเทศไทย
2. ขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485
3. ทางน้ำชลประทาน
4. ค่าชลประทาน
5. ทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน
6. การใช้ที่ดิน การเข้าไปสำรวจ และวิธีการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อการชลประทาน
7. อำนาจของอธิบดีกรมชลประทานเกี่ยวกับการชลประทาน
8. การทำทางน้ำ การปิดกั้นน้ำ และการกักน้ำไม่ให้ไหลเสียเปล่า
9. การซ่อม การดูแลรักษา และการปกป้องคุ้มครองทางน้ำชลประทาน พื้นที่สิ่งก่อสร้าง และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 8 กฎหมายน้ำบาดาล
1. ความทั่วไปเกี่ยวกับน้ำบาดาล
2. ยุทธศาสตร์น้ำใต้ดิน
3. ขอบเขตการใช้บังคับของพระราชบัญญัติน้ำบาดาล พ.ศ. 2520
4. การขอรับและการออกใบอนุญาตประกอบกิจการน้ำบาดาล
5. อายุใบอนุญาต และการต่ออายุ การแก้ไข การโอน การออกใบแทนและการเพิกถอนใบอนุญาต
6. การอุทธรณ์คำสั่งไม่ออกใบอนุญาต ไม่ต่อใบอนุญาต หรือไม่โอนใบอนุญาต
7. หลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานทางวิชาการ
8. อัตราค่าใช้น้ำบาดาล ค่าอนุรักษ์น้ำบาดาล ค่าวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำ
9. หน้าที่ของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการน้ำบาดาล
10. กองทุนพัฒนาน้ำบาดาล
11. องค์กรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
12. การเปรียบเทียบคดี
🍨 ตอนที่ 3: กฎหมายเกี่ยวกับการประปา
บทที่ 9 การประปานครหลวง
1. ประวัติการประปานครหลวง
2. การตั้งการประปานครหลวง
3. การกำกับ การควบคุม และการบริหารการประปานครหลวง
4. การสร้างและการบำรุงรักษาระบบการส่งและการจำหน่ายน้ำ
5. การขอรับบริการ การส่ง การจำหน่ายและการใช้น้ำ
6. มาตรฐานและการรับรองระบบประปาเอกชน
7. การบำรุงรักษาและใช้คลองประปา
8. ความสัมพันธ์ของการประปานครหลวงกับรัฐบาล
9. การร้องทุกข์และการสงเคราะห์
10. การบัญชี การสอบ และการตรวจ
บทที่ 10 การประปาส่วนภูมิภาค
1. ประวัติการประปาส่วนภูมิภาค
2. การตั้งการประภาส่วนภูมิภาค
3. การกำกับ การควบคุม และการบริหารการประปาส่วนภูมิภาค
4. การสร้างและการบำรุงรักษาระบบการผลิต การส่ง และการจำหน่ายน้ำประปา
5. การใช้น้ำประปา
6. การรับรองระบบประปาเอกชน
7. การเงิน การบัญชี และการตรวจสอบ
8. ความสัมพันธ์ระหว่างการประปาส่วนภูมิภาคกับรัฐบาล
บทที่ 11 การประปาสัมปทาน
1. ความทั่วไปเกี่ยวกับการประปาสัมปทาน
2. ความเป็นมาของกฎหมายการประปาสัมปทาน
3. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58
4. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินการเกี่ยวกับสัมปทานประกอบกิจการประปาเพื่อความปลอดภัยหรือผาสุกของประชาชน พ.ศ. 2554
5. ข้อบังคับและเงื่อนไขในสัมปทานประกอบกิจการประปา
บรรณานุกรม
ดัชนี