คำอธิบาย
🎄ผู้เขียน: สรารักษ์ สุวรรณเสรี และ อาคม ศรียาภัย (ผู้พิพากษา)
🎄รหัสสินค้า: 9786166163919
บทคัดย่อ/สารบัญ
บทนำ ข้อความเบื้องต้น
๑. อายุความคืออะไร
๒. ทำไมต้องมีอายุความ
๓. อาุยความมีผลทางกฎหมายอย่างไร
🍁ภาคที่ ๑ อายุความคดีแพ่ง🍁
🧁ส่วนที่ ๑ หลักทั่วไป
๑. ผลของการไม่ใช้สิทธิเรียกร้องภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด
๒. การเริ่มนับอายุความ
๓. อายุความสะดุดหยุดลง
๔. การงดใช้หรือขยายออกหรือย่นอายุความ
๕. การสละประโยชน์แห่งอายุความ
๖. อายุความสะดุดหยุดอยู่ในคดีผู้บริโภค
🧁ส่วนที่ ๒ อายุความในบรรพ ๑
บทที่ ๑ อายุความทั่วไปตามมาตรา ๑๙๓/๓๐
บทที่ ๒ อายุความสิทธิเรียกร้องของรัฐที่จะเรียกเอาค่าภาษีอากร ตามมาตรา ๑๙๓/๓๑
๑. สิทธิเรียกร้องของรัฐเรียกเอาค่าภาษีอากร
๒. สิทธิเรียกร้องของรัฐเรียกเอาหนี้อื่น
บทที่ ๓ อายุความสิทธิเรียกร้องที่เกิดขึ้นโดยคำพิพากษาของศาลที่ถึงที่สุดหรือโดยสัญญาประนีประนอมยอมความตามมาตรา ๑๙๓/๓๒
๑. สิทธิเรียกร้องที่เกิดขึ้นโดยคำพิพากษของศาลที่ถึงที่สุด
๒. สิทธิเรียกร้องที่เกิดขึ้นโดยสัญญาประนีประนอมยอมความ
๓. สิทธิเรียกร้องที่เกิดขึ้นโดยคำพิพากษาฯ ในคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
บทที่ ๔ อายุความ ๕ ปี ตามมาตรา ๑๙๓/๓๓
๑. ดอกเบี้ยค้างชำระ
๒. เงินที่ต้องชำระเพื่อผ่อนทุนคืนเป็นงวดๆ
๓. ค่าเช่าทรัพย์สินค้างชำระ เว้นแต่ค่าเช่าสังหาริมทรัพย์
๔. เงินค่างจ่าย คือ เงินเดือน เงินปี เงินบำนาญ ค่าอุปการะเลี้ยงดูฯ
๕. สิทธิเรียกร้องตามมาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑) (๒) และ (๕)
บทที่ ๕ อายุความ ๒ ปี ตามมาตรา ๑๙๓/๓๔
๑. อายุความของผู้ประกอบการค้าฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑)
๒. อายุความของผู้ประกอบเกษตรกรรมหรือการป่าไม้ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๒)
๓. อายุความของผู้ขนส่งคนโดยสารหรือสิ่งของฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๓)
๔. อายุความของผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม มาตรา มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๔)
๕. อายุความของผู้ขายสลาก มาตรา มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๕)
๖. อายุความของผู้ประกอบธุรกิจในการให้เช่าสังหาริมทรัพย์ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๖)
๗. อายุความของผู้ประกอบธุรกิจในการดูแลกิจการของผู้อื่น มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๗)
๘. กำหนดอายุความของลูกจ้างซึ่งรับใช้การงานส่วนบุคคลฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๘)
๙. อายุความของลูกจ้างรวมทั้งผู้ฝึกหัดงานกับนายจ้าง มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๙)
๑๐. อายุความของครูสอนผู้ฝึกหัดงาน มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๐)
๑๑. อายุความของเจ้าของสถานศึกษาฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๑)
๑๒. อายุความของผู้รับคนไว้เพื่อการบำรุงฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๒)
๑๓. อายุความของผู้รับเลี้ยงหรือฝึกสอนสัตว์ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๓)
๑๔. อายุความของครูหรืออาจารย์ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๔)
๑๕. อายุความของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๕)
๑๖. อายุความของทนายความฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๖)
๑๗. อายุความของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมฯ มาตรา ๑๙๓/๓๔ (๑๗)
บทที่ ๖ อายความตามสิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการรับสภาพความรับผิด โดยมีหลักฐานเป็นหนังสือ หรือโดยการให้ประกัน ตามมาตรา ๑๙๓/๓๕
บทที่ ๗ อายุความการใช้สิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการบอกล้างนิติกรรมที่เป็นโมฆียะ
🧁ส่วนที่ ๓ อายุความในบรรพ ๒
บทที่ ๑ เพิกถอนการฉ้อฉล
๑. การร้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมเพราะเหตุการฉ้อฉล
๒. การร้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมด้วยเหตุอื่น
๓. การขอให้เพิกถอนนิติกรรมตามพระราชบัญญัติล้มละลายฯ
บทที่ ๒ ลาภมิควรได้
๑. การใช้สิทธิเรียกร้องในเรื่องลาภมิควรได้
๒. การเรียกทรัพย์คืนเนื่องจากนิติกรรมเป็นโมฆะ
๓. การใช้สิทธิเรียกทรัพย์คืนโดยอาศัยสัญญา
๔. การเรียกคืนเงินภาษีที่ชำระไปเกินกว่าที่ต้องชำระ
๕. ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเรียกคืนเงินจากผู้ไม่มีสิทธิได้รับ
๖. ลาภมิควรได้กับการใช้สิทธิติดตามเอาทรัพย์คืน
๗. การเริ่มนับอายุความ
บทที่ ๓ ละเมิด การเรียกร้องค่าเสียหายในมูลละเมิดอันเป็นความผิดอาญาและพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
๑. สิทธิเรียกร้องอันเกิดแต่มูลละเมิด
๒. สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอันเกิดแต่มูลละเมิดซึ่งเป็นความผิดอาญา
๓. สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดฯ
🧁ส่วนที่ ๔ อายุความในบรรพ ๓
บทที่ ๑ ซื้อขาย ขายฝาก ขายตามตัวอย่าง ขายตามคำพรรณนา ขายเผื่อชอบ ขายทอดตลาดซื้อขาย
๑. ซื้อขาย
๒. ขายฝาก
๓. ขายตามตัวอย่าง ขายตามคำพรรณนา
๔. ขายเผื่อชอบ ขายทอดตลาด
บทที่ ๒ แลกเปลี่ยน
บทที่ ๓ ให้
บทที่ ๔ เช่าทรัพย์
๑. การฟ้องเรียกค่าเช่า
๒. ผู้ให้เช่าฟ้องผู้เช่าเกี่ยวแก่สัญญาเช่า
๓. อายุความตามลักษณะซื้อขายซึ่งนำมาใช้ในเรื่องเช่าทรัพย์โดยอนุโลม
๔. กรณีที่ไม่เข้าตามข้อที่ ๑ ถึงข้อที่ ๔
บทที่ ๕ เช่าซื้อ
๑. การฟ้องเรียกค่าเช่าซื้อ
๒. ผู้ให้เช่าซื้อฟ้องผู้เช่าซื้อเกี่ยวแก่สัญญาเช่าซื้อที่ไม่ใช่เรียกค่าเช่าซื้อ
๓. อายุความตามลักษณะซื้อขายซึ่งนำมาใช้ในเรื่อง
๔. กรณีที่ไม่เข้าตามกรณี ๑ ถึง ๔
๕. อายุความซึ่งเกี่ยวพันกับเรื่องอื่นๆ
บทที่ ๖ จ้างแรงงาน
๑. ลูกจ้างซึ่งรับใช้การงานส่วนบุคคลเรียกเอาค่าจ้างหรือสินจ้างฯ
๒. ลูกจ้างทั่วไปรวมทั้งผู้ฝึกหัดงาน เรียกเอาค่าจ้างหรือสินจ้างฯ
๓. การฟ้องตามสัญญาจ้างแรงงานซึ่งไม่อยู่ในบังคับอายุความ ตามข้อ ๑ หรือข้อ ๒
บทที่ ๗ จ้างทำของ
๑. อายุความสำหรับผู้ทรงสิทธิเรียกร้องบางประเภทใช้สิทธิเรียกร้องเอาค่าแห่งการงานที่ทำในบางลักษณะ
๒. การฟ้องผู้รับจ้างให้รับผิดเพื่อความชำรุดบกพร่อง
๓. การฟ้องตามสัญญาจ้างทำของซึ่งไม่เข้าในข้อ ๑ หรือข้อ ๒
บทที่ ๘ รับขน รับขนของทางทะเล การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ การรับขนระหว่างประเทศ การรับขนทางอากาศ
๑. ผู้ขนส่งคนโดยสารฯ เรียกเอาค่าโดยสารฯ
๒. ฟ้องในข้อรับผิดของผู้ขนส่งในการที่ของสูญหายหรือบุบสลาย หรือส่งชักช้าโดยไม่มีการทุจริต
๓. ฟ้องในข้อรับผิดของผู้ขนส่งในการที่ของสูญหายหรือบุบสลาย หรือส่งชักช้าโดยมีการทุจริต
๔. สิทธิเรียกร้องเอาค่าเสียหายเพื่อการสูญหาย เสียหาย หรือส่งมอบชักช้าซึ่งของที่รับตามสัญญาขนของทางทะเล
๕. สิทธิเรียกร้องอันเกิดจากการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
๖. สิทธิเรียกร้องอันเกิดจากการรับขนของทางถนนระหว่างประเทศ
๗. สิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการรับขนคนโดยสารทางถนนระหว่างประเทศ
๘. สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากการรับขนทางอากาศระหว่างประเทศ
๙. สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากการรับขนทางอากาศภายในประเทศ
๑๐. สิทธิเรียกร้องตามสัญญารับขนกรณีอื่น
บทที่ ๙ ยืม กู้ยืมเงิน สินเชื่อเงินสด บัตรเงินสด ดอกเบี้ยเงินกู้ เงินชำระผ่อนทุนคืนเป็นงวด
๑. ยืมใช้คงรูป
๒. ยืมใช้สิ้นเปลือง
๓. การฟ้องเรียกดอกเบี้ยค้างชำระ
๔. การฟ้องเรียกเงินที่ต้องชำระเพื่อผ่อนทุนคืนเป็นงวดๆ
๕. อายุความซึ่งเกี่ยวพันกับเรื่องอื่นๆ
บทที่ ๑๐ ฝากทรัพย์ วิธีเฉพาะฝากเงิน วิธีเฉพาะสำหรับเจ้าสำนักโรงแรม
๑. การฟ้องในข้อความรับผิดเพื่อใช้เงินบำเหน็จค่าฝากทรัพย์ ชดใช้เงินค่าใช้จ่ายหรือชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเกี่ยวแก่การฝากทรัพย์
๒. การฟ้องเจ้าสำนักโรงแรมหรือโฮเต็ลหรือสถานที่อื่นทำนองเดียวกันในข้อความรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อทรัพย์สินของคนเดินทางหรือของแขกอาศัยสูญหายหรือบุบสลาย
๓. การฟ้องตามสัญญาฝากทรัพย์ วิธีเฉพาะการฝากเงิน วิธีเฉพาะสำหรับเจ้าสำนักโรงแรม ซึ่งไม่เข้ากรณีในข้อ ๑ หรือข้อ ๒
บทที่ ๑๑ ค้ำประกัน
๑. การฟ้องคดีตามสัญญาค้ำประกัน
๒. ผู้ค้ำประกันฟ้องลูกหนี้เพื่อใช้สิทธิไล่เบี้ย
๓. ผู้ค้ำประกันมีสิทธิยกข้อต่อสู้เรื่องอายุความของลูกหนี้ขึ้นต่อสู่เจ้าหนี้ได้
๔. อายุความสะดุดหยุดลงเป็นโทษแก่ลูกหนี้ย่อมเป็นโทษแก่ผู้ค้ำประกันด้วย
๕. ลูกหนี้สละประโยชน์แห่งอายุความเมื่อสิทธิเรียกร้องขาดอายุความแล้วไม่กระทบสิทธิของผู้ค้ำประกันที่จะยกข้อต่อสู้เรื่องอายุความของลูกหนี้
๖. ลูกหนี้รับสภาพความรับผิดเป็นหนังสือ หรือให้ประกันแก่เจ้าหนี้ เมื่อสิทธิเรียกร้องขาดอายุความแล้ว ไม่เป็นโทษแก่ผู้ค้ำประกัน
๗. การฟ้องทายาทผู้ค้ำประกันให้รับผิดตามสัญญาค้ำประกัน
บทที่ ๑๒ จำนอง จำนำ สิทธิยึดหน่วง บุริมสิทธิ
๑. ผู้รับจำนอง ผู้รับจำนำ ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงหรือผู้ทรงบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้อันตนได้ยึดถือไว้บังคับชำระหนี้ (ยกเว้นดอกเบี้ย) จากทรัพย์สินที่จำนอง จำนำ หรือที่ได้ยึดถือไว้
๒. ผู้รับจำนอง ผู้รับจำนำ ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วง หรือผู้ทรงบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้อันตนได้ยึดถือไว้บังคับชำระดอกเบี้ยจากทรัพย์สินที่จำนอง จำนำหรือที่ได้ยึดถือไว้
๓. การฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความบุบสลายอันผู้รับจำนำก่อให้เกิดแก่ทรัพย์สินจำนำ เรียกให้ชดใช้ค่าใช้จ่ายเพื่อการการบำรุงรักษาทรัพย์สินจำนำ หรือเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดแก่ผู้รับจำนำเพราะความชำรุดบกพร่องในทรัพย์สินจำนำซึ่งไม่เห็นประจักษ์
บทที่ ๑๓ เก็บของในคลังสินค้า
๑. การฟ้องในข้อความรับผิดเพื่อใช้เงินบำเหน็จค่าฝากทรัพย์หรือชดใช้เงินค่าใช้จ่ายหรือใช้ค่าสินไหมทดแทนเกี่ยวแก่การฝากทรัพย์
๒. ผู้ทรงประทวนสินค้าฟ้องไล่เบี้ยเอาเงินที่ค้างชำระจากผู้สลักหลัง
๓. ผู้สลักหลังฟ้องไล่เบี้ยผู้สลักหลังคนก่อน
๔. กรณีที่ไม่เข้าตามข้อที่ ๑ ถึงข้อที่ ๓
บทที่ ๑๔ ตัวแทน
๑. การฟ้องคดีระหว่างตัวการกับตัวแทน
๒. การฟ้องระหว่างตัวการกับบุคคลภายนอก
บทที่ ๑๕ นายหน้า
บทที่ ๑๖ ประนีประนอมยอมความ
บทที่ ๑๗ บัญชีเดินสะพัดและกู้เบิกเงินเกินบัญชี
๑. สัญญาบัญชีเดินสะพัด
๒. สัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชี
บทที่ ๑๘ ประกันภัย
๑. ผู้มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนใช้สิทธิเรียกร้องให้ผู้รับประกันภัยใช้ค่าสินไหมทดแทน
๒. ผู้รับประกันภัยใช้สิทธิเรียกร้องให้ผู้เอาประกันภัยใช้เบี้ยประกันภัย
๓. ผู้เอาประกันภัยใช้สิทธิเรียกร้องเรียกให้ผู้รับประกันภัยคืนเบี้ยประกันภัย
๔. การรับช่วงสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบุคคลภายนอก
๕. กรณีที่ไม่เข้าตามข้อที่ ๑ ถึงข้อที่ ๓
บทที่ ๑๙ ตั๋วเงิน
๑. การฟ้องผู้รับรองตั๋วแลกเงิน หรือผู้ออกตั๋วสัญญาใช้เงิน
๒. ผู้ทรงตั๋วเงินฟ้องผู้สลักหลังและผู้สั่งจ่าย
๓. ผู้สลักหลังฟ้องไล่เบี้ยกันเองหรือไล่เบี้ยผู้สั่งจ่าย
๔. กรณีที่ไม่เข้าตามข้อ ๑ ถึงข้อ ๓
๕. อายุความสะดุดหยุดลง
๖. สิทธิเรียกร้องตามตั๋วเงินสิ้นไปไม่มีผลกระทบต่อมูลหนี้เดิม
บทที่ ๒๐ หุ้นส่วน บริษัท และบริษัทมหาชน
๑. ห้างหุ้นส่วนสามัญ
๒. ห้างหุ้นส่วนจำกัด
๓. บริษัทจำกัด
๔. การร้องขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมใหญ่
๕. การร้องขอให้ห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทกลับคืนสู่ทะเบียน
๖. บริษัทมหาชนจำกัด
๗. สิทธิเรียกร้องในกรณีอื่นๆ
🧁ส่วนที่ ๕ สัญญานอกบรรพ ๓
บทที่ ๑ บัตรเครดิต
๑. ผู้ออกบัตรใช้สิทธิเรียกร้องให้ผู้ถือบัตรชำระหนี้ตามบัตร
๒. การใช้สิทธิเรียกร้องระหว่างผู้ออกบัตรกับร้านสมาชิก
บทที่ ๒ สัญญาการเล่นแชร์
บทที่ ๓ เลตเตอร์ออฟเครดิต และทรัสต์รีซีท
๑. เลตเตอร์ออฟเครดิต
๒. ทรัสต์รีซีท
บทที่ ๔ สัญญาขายลดตั๋วเงิน
๑. สัญญาขายลดตั๋วสัญญาใช้เงิน
๒. สัญญาขายลดเช็ค
๓. สัญญาขายลดตั๋วแลกเงิน
🧁ส่วนที่ ๖ อายุความและระยะเวลาในบรรพ ๔
๑. ห้ามยกอายุความขึ้นต่อสู้แผ่นดินในทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
๒. อายุความผู้เป็นเจ้าของที่ดินโดยมีเงื่อนไขสร้างโรงเรือนฯ เรียกร้องเอาค่าโรงเรือน
๓. ระยะเวลาทำให้ทรัพย์สินหายตกเป็นกรรมสิทธิ์แก่ผู้เก็บได้
๔. ระยะเวลาทำให้ทรัพย์สินซึ่งได้ใช้ในการกระทำผิด หรือได้มาโดยการกระทำผิดหรือเกี่ยวกับการกระทำผิดตกเป็นของแผ่นดิน
๕. อายุความขอแบ่งกรรมสิทธิ์รวม
๖. ระยะเวลาฟ้องคดีเพื่อปลดเปลื้องการรบกวนหรือเอาคืนซึ่งการครอบครอง
๗. อายุความได้กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์
๘. อายุความภาระจำยอม
๙. อายุความสิทธิอาศัย
๑๐. อายุความสิทธิเก็บกิน
🧁ส่วนที่ ๗ อายุความและระยะเวลาในบรรพ ๕
๑. การหมั้น
๒. การฟ้องเพิกถอนนิติกรรมซึ่งคู่สมรสจัดการไปฝ่ายเดียว
๓. สิทธิเรียกร้องค่าทดแทนหรือค่าเลี้ยงชีพกรณีการสมรสเป็นโมฆะ
๔. การฟ้องเพิกถอนการสมรสที่เป็นโมฆียะ
๕. การฟ้องหย่าและเรียกค่าทดแทน
๖. สิทธิเรียกร้องระหว่างสามีภริยา
๗. การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร
๘. การฟ้องปฏิเสธความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
๙. การฟ้องขอให้ถอนการจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร
๑๐. การฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตร
๑๑. การฟ้องคดีเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินระหว่างผู้เยาว์กับผู้ใช้อำนาจปกครอง
๑๒. ผู้รับบุตรบุญธรรมฟ้องเรียกเอาทรัพย์สินคืนจากกองมรดกของบุตรบุญธรรม
๑๓. การฟ้องขอเลิกการรับบุตรบุญธรรม
๑๔. การใช้สิทธิเรียกร้องค่าอุปการะเลี้ยงดู
🧁ส่วนที่ ๘ อายุความในบรรพ ๖ มรดก
๑. การฟ้องคดีมรดก
๒. การฟ้องคดีจัดการมรดก
๓. การฟ้องคดีขอให้เพิกถอนข้อกำหนดพินัยกรรม
๔. การฟ้องคดีขอให้รับผิดเนื่องจากการรอนสิทธิ
๕. การขอให้ถอนผู้จัดการมรดก
🧁ส่วนที่ ๙ อายุความตามกฎหมายเฉพาะเรื่อง
๑. พ.ร.บ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยฯ
๒. พ.ร.บ. การจัดสรรที่ดินฯ
๓. พ.ร.บ. อาคารชุดฯ
🍁ภาคที่ ๒ อายุความคดีอาญาและคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา🍁
บทที่ ๑ อายุความคดีอาญา
๑. อายุความฟ้องคดี
๒. อายุความล่วงเลยการลงโทษ
บทที่ ๒ อายุความคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
๑. ข้อพิจารณาเบื้องต้น
๒. อายุความคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
บทที่ ๓ อายุความคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
๑. อายุความคดีอาญาในศาลอาญาคดีทุจริต
๒. อายุความคดีอาญาในศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
๓. อายุความคดีอาญาที่อยู่ในอำนาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
💥การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 3 : เพิ่มเติมคำพิพากษาศาลฎีกาเกี่ยวกับอายุความตามกฎหมายลักษณะต่างๆ