คำอธิบาย
🍮 ผู้เขียน: ดร. สุพิศ ปราณีตพลกรัง
🍮 รหัสสินค้า: 9789742039394
บทคัดย่อ/สารบาญ
ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน
หลักสุจริต
ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
Sui generis
การกระทำที่เกินขอบอำนาจ
ผู้ซื้อต้องระวัง
ผู้ขายต้องระวัง
สัญญาต้องเป็นสัญญา
ทฤษฎีการเกิดสัญญา
วัตถุประสงค์แห่งนิติกรรม กับ วัตถุแห่งหนี้
การแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่เฉพาะหน้ากับการแสดงเจตนาต่อบุคคลผู้อยู่ห่างโดยระยะทาง
เปรียบเทียบการแสดงเจตนา
เจตนาลวงกับนิติกรรมอำพราง
กลฉ้อฉลกับสำคัญ
หลักขัดขวางเจตนา
วัตถุที่ประสงค์พ้นวิสัยกับการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย
ทรัพยสิทธิ
บุคคลสิทธิ
ความยินยอมไม่ก่อให้เกิดความผิด
เป็นนายต้องรับสำนอง
ผู้เสียหายมีส่วนประมาท
กฎหมายเอกชน
กฎหมายลักษณะละเมิด
กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน
บุคคลไม่อาจฟ้องร้องจากการกระทำผิดของตน
หลักความรับผิดเด็ดขาด
ความรับผิดเพื่อละเมิดจากการกระทำของบุคคลอื่น
ละเมิดกับการกระทำผิดทางอาญา
วิญญูชน
เจตนาซ่อนเร้นกับเจตนาลวง
สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก
มัดจำและเบี้ยปรับ
เบี้ยปรับกับค่าสินไหมทดแทน
สัญญาเช่าธรรมดากับสัญญาต่างตอบแทนพิเศษนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าธรรมดา
ของหมั้นกับสินสอด
บุตรที่บิดาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตรกับบุตรนอกกฎหมายที่บิดาได้รับรองแล้ว
ส่วนควบและอุปกรณ์
ดอกผลของทรัพย์
นิติกรรมกับนิติเหตุ
ความสามารถของบุคคลในการทำนิติกรรม
โมฆะกับโมฆียะ
เงื่อนไข เงื่อนเวลา
อายุความสะดุดหยุดลง
คำเสนอกับคำมั่น
กลฉ้อฉลกับการเพิกถอนการฉ้อฉล
การแสดงเจตนาลวงกับการเพิกถอนการฉ้อฉล
บุคคลผู้ได้ลาภงอก
บุคคลผู้ได้ลาภงอก (มาตรา ๒๓๗) กับบุคคลภายนอก (มาตรา ๒๓๘)
การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้กับการโอนสิทธิเรียกร้อง
การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้กับการเพิกถอนการฉ้อฉล
การตีความสัญญา
ทางจำเป็นกับทางภาระจำยอม
ค่าทดแทน
ค่าเลี้ยงชีพ
ค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร
เหตุสุดวิสัย
นิติเหตุ
แบบแห่งนิติกรรม
ทำเป็นหนังสือกับหลักฐานเป็นหนังสือ
ข่มขู่
สัญญาต่างตอบแทนกับการโอนสิทธิเรียกร้อง
กฎหมายลักษณะหนี้
วัตถุแห่งหนี้
ทรัพย์ซึ่งเป็นวัตถุแห่งหนี้
การใช้สิทธิเรียกร้องของลูกหนี้
ผลแห่งหนี้
ผิดนัดหนี้ละเมิด
ใครเป็นหนี้ ทรัพย์สินของผู้นั้นต้องผูกพันเป็นหนี้
ปลดหนี้กับเลิกสัญญา
รับช่วงสิทธิกรณีต่าง ๆ
แปลงหนี้ใหม่เปรียบเทียบกับกรณีอื่น ๆ
สิทธิยึดหน่วงกับผลแห่งสัญญาต่างตอบแทน
ผู้มีสิทธิในทรัพย์
บุคคลธรรมดากับบุคคลตามกฎหมาย
วัตถุที่ประสงค์แห่งนิติกรรม
The Privity of contract
Ouasi-contract : คล้ายสัญญาหรือกึ่งสัญญา (quasi-ex contractu)
Ouasi-delict : คล้ายละเมิดหรือกึ่งละเมิด (quasi-ex delicto)
ภาพรวมของละเมิด
ความสัมพันธ์ระหว่างละเมิดกับสัญญา
ความสัมพันธ์ระหว่างละเมิดกับกฎหมายลักษณะทรัพย์
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด
เหตุแก้ตัวกรณีละเมิด
ละเมิดกรณีสร้างความเดือดร้อนรำคาญ (nuisance)
กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน (The law of Property)
การครอบครอง (possession)
การครอบครองปรปักษ์ (Adverse possession)
สิทธิกับภาระหนี้ (rights vs obligation)
รูปแบบของวัตถุแห่งหนี้ในสมัยโบราณ
ตารางเปรียบเทียบ วัตถุที่ประสงค์แห่งนิติกรรมกับวัตถุแห่งหนี้
ข้อพิจารณาเปรียบเทียบ บุคคลธรรมดากับนิติบุคคล
เปรียบเทียบ คำมั่น – คำเสนอ
เปรียบเทียบ จัดการงานนอกสั่งกับลาภมิควรได้
เปรียบเทียบ ละเมิดกับผิดสัญญา
เปรียบเทียบ จงใจกับเจตนา
เปรียบเทียบ จงใจกับประมาทเลินเล่อ
เปรียบเทียบ กรรมสิทธิ์กับสิทธิครอบครอง
กฎหมายแพ่งในฐานะกฎหมายเอกชน (private Law)
ความรับผิดทางละเมิด (Tort liability)
ประเภทของความรับผิดทางละเมิด
หลักเบื้องต้นของกฎหมายสัญญาในแนวอังกฤษ
ความจำเป็นในการมีกฎหมายสัญญา
กำเนิดของกฎหมายสัญญา
การเกิดสัญญา (Formation of a Contract)
การตกลงกัน
คำเสนอ (offer)
คำสนอง (acceptance)
การถอนคำเสนอ
ฯลฯ
🍭การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 5 : มีการเพิ่มเติมเนื้อหาที่น่าสนใจ (ซึ่งมีทั้งเรื่องที่เป็นหัวข้อใหม่และการอธิบายขยายความเรื่องเดิมให้ละเอียดมากขึ้น)