Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

หลักพื้นฐานกฎหมายมหาชนว่าด้วยรัฐ รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย

Original price was: ฿ 340.00.Current price is: ฿ 306.00.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 500 กรัม
ขนาด 14.5 × 21 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์

รหัสสินค้า

9786165814249

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

356

พิมพ์ครั้งที่

13 : ตุลาคม 2567

คำอธิบาย

✍️ ผู้เขียน: ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์
📖 รหัสสินค้า : 9786165814249


⚡ บทคัดย่อ/สารบาญ ⚡

หนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนต้องการแสดงให้เห็นถึงหลักพื้นฐานกฎหมายมหาชนที่เกี่ยวกับรัฐ อำนาจรัฐ รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย โดยแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องซึ่งกันและกันของสิ่งดังกล่าวอย่างมีเหตุผลและมีผลรองรับเพื่อแสดงให้เห็นถึงความคิดพื้นฐานของหลักกฎหมายมหาชนเบื้องต้นอันจะทำให้เข้าใจและคิดอย่างเป็นระบบเมื่อได้ศึกษาในระดับสูงต่อไป

ภาค 1 แนวความคิดพื้นฐานของกฎหมายรัฐธรรมนูญ

บทที่ 1 รัฐ
1. แนวความคิดการก่อกำเนิดรัฐ
2. หลักพื้นฐานว่าด้วยแนวคิดของรัฐ
3. รูปแบบของรัฐ

บทที่ 2 รัฐธรรมนูญ
1. แนวความคิดรัฐธรรมนูญ
2. อำนาจในการจัดให้มีรัฐธรรมนูญ
3. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณีหรือรัฐธรรมนูญที่ไม่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร
4. เนื้อหาของรัฐธรรมนูญ
5. วัฒนธรรมทางการเมือง อำนาจการเมืองและรัฐธรรมนูญ
6. รัฐธรรมนูญในฐานะที่มาของสิทธิเสรีภาพ

บทที่ 3 สิทธิมนุษยชน
1. แนวความคิดว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
2. สิทธิมนุษยชน : สิทธิเสรีภาพตามกฎหมายบ้านเมือง
3. คุณค่าทางกฎหมายของคำประกาศ
4. สิทธิมนุษยชนกับนิติรัฐ

 

ภาค 2 หลักพื้นฐานของกฎหมายรัฐธรรมนูญ

บทที่ 4 ความเกี่ยวโยงของอำนาจอธิปไตยเป็นของชาติและอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนกับระบบของการมีผู้แทน
1. อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนหรืออำนาจอธิปไตยเป็นของชาติ
2. การใช้ทฤษฎีอำนาจอธิปไตยเป็นของชาติ

บทที่ 5 การแบ่งแยกอำนาจ
1. หลักพื้นฐานของทฤษฎีการแบ่งแยกอำนาจ
2. ความหมายของการแบ่งแยกอำนาจ
3. สาระสำคัญของหลักการแบ่งแยกอำนาจ
4. ระบบการปกครองตามหลักการแบ่งแยกอำนาจ
5. การดำรงตำแหน่งของบุคคลในแต่ละองค์กร ผู้ใช้อำนาจตามหลักการแบ่งแยกอำนาจ
6. ความสัมพันธ์ของการใช้อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการตามหลักการแบ่งแยกอำนาจ
7. โครงสร้างของระบบการเมืองต่างๆ ตามหลักการแบ่งแยกอำนาจ
8. การทำให้อำนาจต่างๆ สมดุลกัน

บทที่ 6 กฎหมายฝ่ายบ้านเมือง
1. กฎหมาย : กฎเกณฑ์ทั่วไปและไม่เจาะจงบุคคล
2. กฎหมายและเสรีภาพ
3. กฎหมายและความเสมอภาค
4. ลำดับศักดิ์ของกฎหมาย

บทสรุป
⚡ ภาคผนวก
ภาคผนวก 1
– คำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ลงวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1789
ภาคผนวก 2
– คำปรารภของรัฐธรรมนูญ ลงวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ. 1946
บรรณานุกรม


📌 การแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 13 : แก้ไขรูปแบบการอ้างอิง, ปรับปรุงเนื้อหาของคำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ค.ศ.1789