Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

วิชาธรรมศาสตร์ว่าด้วยการคลังภาครัฐ

Original price was: ฿ 380.00.Current price is: ฿ 361.00.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 990 กรัม
ขนาด 25.9 × 18.4 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ปรีชา สุวรรณทัต

รหัสสินค้า

9786164138919

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

พิมพ์ครั้งที่

6 : พฤศจิกายน 2562 (แก้ไขปรับปรุง)

จำนวนหน้า

417

มีสินค้าอยู่ 4

รหัสสินค้า: 9786164138919 หมวดหมู่: Product ID: 20245

คำอธิบาย

🍘 ผู้เขียน: ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ปรีชา สุวรรณทัต
🍘 รหัสสินค้า: 9786164138919

 

บทคัดย่อ/สารบาญ
🍘 คำนำ เพื่อพาไปสู่ความคิดในวิชากฎหมายการคลังมหาชนที่ถูกต้อง
🍕 บทที่ 1 อารัมภบท วิวัฒนาการที่เป็นความคิดอันเป็นพลวัตของวิชาการคลัง
ส่วนที่ 1
“ธรรมศาสตร์วินัย” ในคัมภีร์ศาสนาที่สำคัญของโลกอันว่าด้วยปรัชญาและฐิติในการรักษาปฏิรูปวินัยการเงินการคลัง

ส่วนที่ 2 วิวัฒนาการความคิดอันเป็นบ่อเกิดของหลักกฎหมายการคลังมหาชนในระบอบประชาธิปไตย
ส่วนที่ 3 เปรียบเทียบความคิดหลักกฎหมายการคลังมหาชนของต่างประเทศและของประเทศไทย
ส่วนที่ 4 รากเหง้าความคิดทางกฎหมายการคลังมหาชนของประเทศสยามตั้งแต่ยุคปฐมกาลมาสู่ยุคใหม่
ส่วนที่ 5 ย้อนศึกษาแนวความคิดการคลังในยุคปฐมกาลกับการคลังในปัจจุบัน

🍕 บทที่ 2 เปรียบเทียบกรอบวินัยทางการเงินการคลังและงบประมาณตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 และ 2560
ส่วนที่ 1 ข้อดีและข้อเสียของการที่รัฐธรรมนูญได้กำหนดกรอบวินัยการเงินการคลังและงบประมาณไว้ในรัฐธรรมนูญ
🍕 บทที่ 3 ความสัมพันธ์และไม่สัมพันธ์ของหลักกฎหมายการคลังมหาชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญกับพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการเงินการคลังที่เป็นแก่นของกฎหมายการคลัง
ส่วนที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับกฎหมาย เงินคงคลังและกฎหมายวิธีการงบประมาณ
ส่วนที่ 2 ความสัมพันธ์และไม่สัมพันธ์ระหว่างการจ่ายเงินแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายเงินคงคลัง กฎหมายวิธีการงบประมาณและกฎหมายวินัยการเงินการคลังของรัฐ
ส่วนที่ 3 สรุปหลัก “เฉพาะ” และ “ข้อยกเว้น” ในการจ่ายเงินแผ่นดิน

🍕 บทที่ 4 กิจกรรมการบริหารการเงินการคลังของรัฐที่อยู่นอกระบบงบประมาณรายจ่าย
ส่วนที่ 1
อำนาจบริหารในการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ
ส่วนที่ 2
ความเป็นเทคนิคของการ “ตั้งเงินรายจ่ายเพื่อชดใช้” และ “ตั้งงบประมาณรายจ่ายชดใช้”
🍕 บทที่ 5 รายจ่ายตามข้อผูกพันที่เป็นหนี้สาธารณะ (Public Debt….. Dette Publique)
ส่วนที่ 1 ความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับหนี้สาธารณะ
ส่วนที่ 2 การก่อหนี้สาธารณะของประเทศไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน
ส่วนที่ 3 กรอบวินัยทางการเงินการคลังในการกู้เงินของประเทศไทยในปัจจุบัน
🍕 บทที่ 6 การจำแนกหลักกฎหมายการคลังมหาชนที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับหลักวินัยทางงบประมาณและการคลังและมาตรการในการรักษาวินัยทางการคลัง

ส่วนที่ 1 กิจกรรมการบริหารการเงินการคลังของรัฐที่อยู่นอกระบบงบประมาณรายจ่าย
ส่วนที่ 2 ข้อจำกัดทางกฎหมายการคลังมหาชนของฝ่ายนิติบัญญัติในการควบคุมการก่อหนี้
🧅 การคลังท้องถิ่น
🧅 ปัจฉิมบท : ธรรมาภิบาลในวินัยการเงินและการคลัง
🧅 ข้อเสนอแนะ: ในการปรับปรุงกรอบวินัยการเงินการคลังในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แทนฉบับปี 2560
🧅 ปัจฉิมภาค : กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 หรือ วิธีปฏิบัติในเรื่องที่ควรสงสัยหรือหลักความเชื่อ
🧅 ภาคผนวก
– ก. คำแถลงของหลวงประดิษฐ์ มนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) ที่เกี่ยวกับการปฏิรูปการคลังของประเทศสยาม
– ข. คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ และคำพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและความเห็นสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวกับกฎหมายการคลัง
🧅 บรรณานุกรม