คำอธิบาย
🍧 ผู้เขียน: ศาสตราจารย์ไชยยศ เหมะรัชตะ
🍧 รหัสสินค้า: 9789742038755
บทคัดย่อ/สารบัญ
บทนำ
บทที่ ๑ ลักษณะของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
๑. นิยามของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
๒. แนวความคิดเกี่ยวกับการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
๓. ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา
๔. ความแตกต่างระหว่างทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท
๕. การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาตามกฎหมายไทย
บทที่ ๒ ความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญา
๑. ลักษณะทั่วไปของความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญา
๒. ขอบเขตของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองความคิดสร้างสรรค์ทางปัญญา
๓. ความคิดสร้างสรรค์ซึ่งยังไม่ได้พัฒนา
บทที่ ๓ ลิขสิทธิ์
๑. ลักษณะทั่วไปของลิขสิทธิ์
๒. สาระสำคัญของลิขสิทธิ์
๓. การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์
๔. ธรรมสิทธิ
๕. การละเมิดลิขสิทธิ์
๖. การใช้ลิขสิทธิ์ในพฤติการณ์พิเศษ
๗. ลิขสิทธิ์ระหว่างประเทศ
บทที่ ๔ สิทธิของนักแสดง
๑. ลักษณะทั่วไปของสิทธิของนักแสดง
๒. สาระสำคัญแห่งสิทธิของนักแสดง
๓. การได้มาซึ่งสิทธิของนักแสดง
๔. การละเมิดสิทธิของนักแสดง
๕. สิทธิบัตรของนักแสดงระหว่างประเทศ
บทที่ ๕ สิทธิบัตรเกี่ยวกับการประดิษฐ์
๑. ลักษณะทั่วไปของสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๒. สาระสำคัญของการประดิษฐ์อันสามารถขอรับสิทธิบัตร
๓. การได้มาซึ่งสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๔. ความเป็นผู้ทรงสิทธิบัตร
๕. การละเมิดสิทธิบัตรการประดิษฐ์
บทที่ ๖ การออกแบบผลิตภัณฑ์
๑. ลักษณะทั่วไปของการออกแบบผลิตภัณฑ์
๒. สาระสำคัญของแบบผลิตภัณฑ์อันสามารถขอรับสิทธิบัตร
๓. การได้มาซึ่งสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
๔. การละเมิดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ ๗ อนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๑. ลักษณะทั่วไปของอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๒. สาระสำคัญของการประดิษฐ์อันสามารถขอรับอนุสิทธิบัตร
๓. การได้มาซึ่งอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๔. ความเป็นผู้ทรงอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๕. การละเมิดอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๖. การดำเนินคดีละเมิดอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์
๗. บทกำหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับอนุสิทธิบัตรการประดิษฐ์
บทที่ ๘ เครื่องหมายการค้า
๑. ลักษณะทั่วไปของเครื่องหมายการค้า
๒. การได้มาซึ่งสิทธิในเครื่องหมายการค้า
๓. สาระสำคัญเกี่ยวกับการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า
๔. ความเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้า
๕. หลักเกณฑ์เฉพาะของเครื่องหมายบางประเภท
๖. การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าภายใต้พิธีสารมาดริด (Madrid Protocal)
๗. การดำเนินคดีอันเกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า
บทที่ ๙ สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
๑. ลักษณะทั่วไปของสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
๒. สาระสำคัญเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
๓. การแก้ไขและเพิกถอนทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
๔. สิทธิในการใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
๕. การใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
๖. การคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์สำหรับสินค้าเฉพาะอย่าง
๗. บทกำหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
บทที่ ๑๐ พันธุ์พืช
๑. ลักษณะทั่วไปของพันธุ์พืช
๒. สาระสำคัญของพันธุ์พืชอันสามารถขอรับความคุ้มครอง
๓. การได้มาซึ่งการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่
๔. ความเป็นผู้ทรงสิทธิ์ในพันธุ์พืชใหม่
๕. หลักเกณฑ์เฉพาะอันเกี่ยวกับพันธุ์พืชบางประเภท
๖. การดำเนินคดีอันเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิในพันธุ์พืช
๗. บทกำหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับการคุ้มครองพันธุ์พืช
บทที่ ๑๑ การออกแบบผังภูมิของวงจรรวม
๑. ลักษณะทั่วไปของแบบผังภูมิของวงจรรวม
๒. แบบผังภูมิอันสามารถขอรับความคุ้มครอง
๓. การได้มาซึ่งสิทธิขอรับความคุ้มครองแบบผังภูมิ
๔. ความเป็นผู้ทรงสิทธิในแบบผังภูมิ
๕. การละเมิดสิทธิการออกแบบผังภูมิ
บทที่ ๑๒ ความลับทางการค้า
๑. ลักษณะทั่วไปของความลับทางการค้า
๒. ความลับทางการค้าอันสามารถได้รับความคุ้มครอง
๓. การได้มาซึ่งสิทธิในความลับทางการค้า
๔. สิทธิของเจ้าของความลับทางการค้า
๕. การดูแลรักษาความลับทางการค้าโดยหน่วยงานของรัฐ
๖. การละเมิดสิทธิในความลับทางการค้า
๗. ข้อยกเว้นการละเมิดสิทธิในความลับทางการค้า
๘. การดำเนินคดีละเมิดสิทธิในความลับทางการค้า
๙. การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีเกี่ยวกับความลับทางการค้า
๑๐. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
๑๑. บทกำหนดโทษในความผิดเกี่ยวกับความลับทางการค้า
บทที่ ๑๓ การใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์
๑. หลักกฎหมายเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาเชิงพาณิชย์
๒. รูปแบบพิเศษของการอนุญาตให้ใช้สิทธิ
๓. รูปลักษณ์สิทธิเชิงพาณิชย์
บทที่ ๑๔ วิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาฯ
๑. ความเป็นมาของบทบัญญัติเฉพาะว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาฯ
๒. ลักษณะทั่วไปของคดีทรัพย์สินทางปัญญาฯ
๓. ผู้มีอำนาจฟ้องคดีทรัพย์สินทางปัญญาฯ
๔. เขตอำนาจศาล
๕. ผู้พิพากษาของศาลทรัพย์สินทางปัญญาฯ
๖. วิธีพิจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาฯ
๗. การอุทธรณ์และฎีกา
บรรณานุกรม