Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

ชุมนุมข้อกฎหมายคดีครอบครัว : แนวทางเรียงคำฟ้อง คำให้การ และคำร้อง (เล่ม ๓) ว่าด้วยบิดามารดากับบุตร

Original price was: ฿ 450.00.Current price is: ฿ 427.50.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 830 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ดร. จิตฤดี วีระเวสส์

รหัสสินค้า

9789742039028

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

472

พิมพ์ครั้งที่

1 : กุมภาพันธ์ 2566

มีสินค้าอยู่ 10

รหัสสินค้า: 9789742039028 หมวดหมู่: , , Product ID: 73641

คำอธิบาย

🍮 ผู้เขียน: ดร. จิตฤดี วีระเวสส์
🍮 รหัสสินค้า: 9789742039028

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
🎄ชุมนุมข้อกฎหมายคดีครอบครัว
: แนวทางเรียงคำฟ้อง คำให้การ และคำร้อง ฉบับบิดามารดากับบุตร (เล่ม ๓)
-ข้อสันนิษฐานว่าเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๓๖-๑๕๓๘, ๑๕๔๖, ๑๕๖๐)
-การฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๓๙, ๑๕๔๑-๑๕๔๔)
-การฟ้องคดีปฏิเสธความเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา ๑๕๔๕)
-การเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดามารดาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส (มาตรา ๑๕๔๗)
-หลักเกณฑ์บิดาจดทะเบียนเด็กเป็นบุตรและอำนาจปกครองบุตร (มาตรา ๑๕๔๘-๑๕๔๙, ๑๕๕๒)
-การขอถอนการจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๕๔)
-เหตุในการฟ้องขอให้รับเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา ๑๕๕๕)
-วิธีการฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๕๖)
-ผลจากการที่ศาลมีคำพิพากษาว่าเด็กเป็นบุตร (มาตรา ๑๕๕๗-๑๕๕๘)
-สิทธิและหน้าที่ระหว่างบิดามารดากับบุตร (มาตรา ๑๕๖๑-๑๕๖๒)
-บิดามารดาต้องอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาบุตร (มาตรา ๑๕๖๓-๑๕๖๔)
-การฟ้องคดีเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดู (มาตรา ๑๕๖๕)
-อำนาจปกครองบุตรของบิดามารดา (มาตรา ๑๕๖๖, ๑๕๖๘)
-สิทธิของผู้ใช้อำนาจปกครอง (มาตรา ๑๕๖๗)
-ผู้ใช้อำนาจปกครองเป็นผู้แทนโดยชอบธรรม ผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ของบุตร (มาตรา ๑๕๖๙-๑๕๖๙/๑)
-การจัดการทรัพย์สินของบุตรและนิติกรรมที่ผู้ใช้อำนาจปกครองต้องขออนุญาตต่อศาล (มาตรา ๑๕๗๑, ๑๕๗๓-๑๕๗๔)
-ประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครองหรือคู่สมรสหรือบุตรของผู้ใช้อำนาจปกครองขัดกับประโยชน์ของผู้เยาว์ (มาตรา ๑๕๗๕-๑๕๗๖)
-อายุความฟ้องคดีเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินระหว่างผู้เยาว์กับผู้ใช้อำนาจปกครอง (มาตรา ๑๕๘๑)
-การถอนและคืนอำนาจปกครอง (มาตรา ๑๕๘๒-๑๕๘๓)
-ความปกครอง (มาตรา ๑๕๘๕)
-ผู้มีสิทธิร้องขอให้ตั้งผู้ปกครอง (มาตรา ๑๕๘๖)
-คุณสมบัติของผู้ที่อาจถูกตั้งให้เป็นผู้ปกครอง (มาตรา ๑๕๘๗- ๑๕๘๘)
-จำนวนและการเริ่มต้นเป็นผู้ปกครอง (มาตรา ๑๕๙๐-๑๕๙๑)
-สิทธิหน้าที่ระหว่างผู้ปกครองและผู้อยู่ในปกครอง (มาตรา ๑๕๙๒-๑๕๙๘/๕, ๑๕๙๘/๑๔)
-การสิ้นสุดความปกครอง (มาตรา ๑๕๙๘/๖-๑๕๙๘/๑๓)
-ผู้อนุบาลมีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ใช้อำนาจปกครอง (มาตรา ๑๕๙๘/๑๕-๑๕๙๘/๑๘)
🎄บุตรบุญธรรม
-คุณสมบัติของผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๑๙)
-เงื่อนไขของการรับบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๒๐-๑๕๙๘/๒๑)
-ความยินยอมของสถานสงเคราะห์เด็กตามกฎหมาย (มาตรา ๑๕๙๘/๒๒-๑๕๙๘/๒๔)
-ความยินยอมของคู่สมรสในการรับบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๒๕)
-ผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลได้เพียงคนเดียว(มาตรา ๑๕๙๘/๒๖)
-การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๒๗)
-บุตรบุญธรรมมีฐานะเช่นเดียวกับบุตรชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา ๑๕๙๘/๒๘)
-ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดกของบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๒๙)
-การเรียกร้องเอาทรัพย์สินคืนจากบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๓๐)
-การเลิกรับบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๓๑-๑๕๙๘/๓๒)
-การฟ้องคดีเลิกการรับบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๓๓-๑๕๙๘/๓๕)
-ผลของคำพิพากษาและการเลิกรับบุตรบุญธรรม (มาตรา ๑๕๙๘/๓๖-๑๕๙๘/๓๗)
🎄ค่าอุปการะเลี้ยงดู
-ค่าอุปการะเลี้ยงดูระหว่างสามีภริยา และบิดามารดากับบุตร (มาตรา ๑๕๙๘/๓๘-๑๕๙๘/๔๑)
-การดำเนินการให้ตั้งครรภ์แทน (อุ้มบุญ)
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
-สถานะความเป็นบิดามารดาของเด็กและการคุ้มครองเด็กที่เกิดจากการตั้งครรภ์แทน
-การตั้งครรภ์แทนก่อนมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘

🍅ภาคผนวก
-พระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒

-กฎกระทรวง การสอบคุณสมบัติและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่และความเหมาะสมของผู้ขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม บุคคลผู้มีอำนาจให้ความยินยอมในการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมและเด็กที่จะเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๕๔
-กฎกระทรวง ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ. ๒๕๒๒
-พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. ๒๕๕๘
-ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ดำเนินการให้มีการตั้งครรภ์แทน พ.ศ. ๒๕๕๘
-ประกาศคณะกรรมการคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ผู้ให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ดำเนินการให้มีการตั้งครรภ์แทน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒