คำอธิบาย
🍡ผู้เขียน: ศาสตราจารย์พิเศษอรรถพล ใหญ่สว่าง
🍡รหัสสินค้า: 9786164041226
💦บทคัดย่อ/สารบัญ💦
บทนำ
ขั้นตอนที่ ๑ กระบวนการก่อนฟ้องคดี
บทที่ ๑ คำร้องทุกข์และคำกล่าวโทษ
บทที่ ๒ ผู้เสียหาย
บทที่ ๓ บุคคลที่มีอำนาจฟ้องคดีอาญา
บทที่ ๔ กรณีผู้เสียหายยื่นฟ้องแล้วตายลง
บทที่ ๕ การยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นโจทก์
บทที่ ๖ กรณีที่ผู้เสียหายและพนักงานอัยการต่างได้ยื่นฟ้องในศาลชั้นต้นเดียวกัน
บทที่ ๗ การถอนฟ้องคดีอาญา
บทที่ ๘ คดีอาญาเลิกกัน
บทที่ ๙ สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ
บทที่ ๑๐ การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา
บทที่ ๑๑ การจับและการค้น
บทที่ ๑๒ เขตอำนาจสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
บทที่ ๑๓ เขตอำนาจศาล
บทที่ ๑๔ การควบคุม การขัง การปล่อยตัว
บทที่ ๑๕ ขั้นตอนงานชั้นสอบสวน
บทที่ ๑๖ ขั้นตอนงานชั้นพนักงานอัยการ
บทที่ ๑๗ การชันสูตรพลิกศพ
ขั้นตอนที่ ๒ กระบวนการหลังฟ้องคดี
บทที่ ๑๘ การฟ้องคดีอาญาและการไต่สวนมูลฟ้อง
บทที่ ๑๙ การพิจารณาคดีอาญาในศาลชั้นต้น
บทที่ ๒๐ การทำคำพิพากษาและคำสั่งในศาลชั้นต้น
บทที่ ๒๑ กระบวนวิธีพิจารณาความชั้นศาลอุทธรณ์
ส่วนที่หนึ่ง : หลักทั่วไป
ส่วนที่สอง : การพิจารณา คำพิพากษาและคำสั่งชั้นศาลอุทธรณ์
บทที่ ๒๒ กระบวนวิธีพิจารณาความชั้นฎีกา
บทที่ ๒๓ พยานหลักฐาน
๑.หลักทั่วไป
๒.พยานบุคคล
๓.พยานเอกสาร
๔.พยานวัตถุ
๕.ผู้เชี่ยวชาญ
ขั้นตอนที่ ๓ กระบวนการชั้นบังคับคดี
บทที่ ๒๔ การบังคับตามคำพิพากษาและค่าธรรมเนียม
ส่วนที่หนึ่ง : การบังคับตามคำพิพากษา
ส่วนที่สอง : ค่าธรรมเนียม
บทที่ ๒๕ อภัยโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นเบาและลดโทษ
บทที่ ๒๖ การนำบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับกับวิธีพิจารณาความอาญา (ป.วิ.อ.มาตรา ๑๕)
คำถามและคำตอบ วิชา สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 8 : ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับกฎหมายใหม่