คำอธิบาย
🍨 ผู้เขียน: กีรติ กาญจนรินทร์
🍨 รหัสสินค้า: 9786164041127
บทคัดย่อ/สารบาญ
ข้อความเบื้องต้น
🍮บทที่ ๑ ความตายก่อให้เกิดมรดก
🍮บทที่ ๒ กองมรดก
กองมรดกได้แก่อะไร
ดอกผลของมรดกเป็นมรดกหรือไม่
มรดกที่เปลี่ยนสภาพไปเป็นทรัพย์สินอื่น
แนวคำพิพากษาฎีกาที่ถือว่าเป็นมรดก
แนวคำพิพากษาฎีกาที่ไม่ถือว่าเป็นมรดก
สิทธิหน้าที่และความรับผิดที่เป็นการเฉพาะตัวไม่เป็นมรดก
เฉพาะตัวโดยสภาพ
เฉพาะตัวโดยกฎหมาย
🍮บทที่ ๓ การตกทอดของทรัพย์มรดก
มรดกตกทอดไปที่ใด
ความหมายของทายาท
ทายาทตาม ป.พ.พ. คือบุคคลใด
เวลาที่มรดกตกทอดแก่ทายาท
มรดกตกทอดทันทีแต่ไม่เด็ดขาด
🍮บทที่ ๔ ความสามารถและเวลาในการเป็นทายาท
หมวด ๑ ทารกในครรภ์มารดาเป็นทายาท
หมวด ๒ มูลนิธิที่ก่อตั้งขึ้นตามพินัยกรรมเป็นทายาท
หมวด ๓ ทายาทโดยธรรม
– ลำดับทายาทโดยธรรม
– ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ
– ทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรส
– ผู้สืบสันดาน
– บุตรที่มีสิทธิรับมรดกอันจะถือว่าเป็นทายาท
– บุตรชอบด้วยกฎหมาย
– การเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบิดา
– บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว
– บุตรบุญธรรม
– บิดามารดา
– พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
– พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
– ปู่ ย่า ตา ยาย
– ลุง ป้า น้า อา
– ข้อสังเกตการตีความมาตรา ๑๖๒๙
– คู่สมรส
หมวด ๔ การรับมรดกแทนที่
🍮บทที่ ๕ สิทธิและส่วนแบ่งมรดกของทายาทโดยธรรม
สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทโดยธรรมประเภทญาติ
สิทธิและส่วนแบ่งของทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรส
สิทธิและส่วนแบ่งทรัพย์สินระหว่างผู้ตายกับคู่สมรส
สิทธิของคู่สมรสตามสัญญาประกันชีวิต
สิทธิของคู่สมรสที่ได้รับเงินปี
🍮บทที่ ๖ การเสียสิทธิในการรับมรดก
การเสียสิทธิในการรับมรดกตามกฎหมายอื่น
การเสียสิทธิในการรับมรดกตาม ป.พ.พ.
ผู้รับบุตรบุญธรรมเรียกทรัพย์สินคืนจากกองมรดกของบุตรบุญธรรม
หมวด ๑ ส่วนที่ ๑ การถูกจำกัดมิให้ได้มรดกเพราะยักย้ายปิดบังผลของการถูกกำจัดมิให้ได้มรดก
ส่วนที่ ๒ การถูกจำกัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
ส่วนที่ ๓ ผลของการถูกจำกัดมิให้รับมรดก
หมวด ๒ ส่วนที่ ๑ การตัดมิให้รับมรดก
ส่วนที่ ๒ ผลของการถูกตัดมิให้รับมรดก
ส่วนที่ ๓ การถอนการตัดมิให้รับมรดก
หมวด ๓ ส่วนที่ ๑ การสละมรดก
ส่วนที่ ๒ หลักเกณฑ์การสละมรดก
ส่วนที่ ๓ ผลของการสละมรดก
🍮บทที่ ๗ สิทธิของทายาทซึ่งเป็นพระภิกษุ
🍮บทที่ ๘ ทรัพย์สินของพระภิกษุที่มรณภาพ
ทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มาระหว่างอยู่ในสมณเพศ
ทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มาก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ
คำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับทรัพย์สินของพระภิกษุที่มรณภาพ
🍮บทที่ ๙ เจ้าหนี้กองมรดกใช้สิทธิเรียกร้องให้ชำระหนี้
🍮บทที่ ๑๐ พินัยกรรม
หมวด ๑ ความหมายของพินัยกรรม
หมวด ๒ ลักษณะสำคัญของพินัยกรรม
🍮บทที่ ๑๑ หลักทั่วไปในการทำพินัยกรรม
บทบัญญัติเรื่องทำนิติกรรมนำมาใช้บังคับในเรื่องพินัยกรรม
ความสามารถของผู้ทำพินัยกรรม
ผู้เยาว์
บุคคลผู้อยู่ในความปกครอง
คนไร้ความสามารถ
บุคคลวิกลจริต
บุคคลเสมือนไร้ความสามารถ
เวลาที่ถือว่าผู้ทำพินัยกรรมมีความสามารถ
หมวด ๑ ประเภทของผู้รับพินัยกรรม
หมวด ๒ ความสามารถของผู้รับพินัยกรรม
หมวด ๓ คุณสมบัติของผู้รับพินัยกรรม
– บุคคลต้องห้ามมิให้เป็นผู้รับพินัยกรรม
– ๑. ผู้ปกครอง
– ๒. ผู้เขียนพินัยกรรม
– ๓. พยานในพินัยกรรม
🍮บทที่ ๑๒ แบบพินัยกรรม
หมวด ๑ พินัยกรรมแบบธรรมดา
หมวด ๒ พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
หมวด ๓ พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
หมวด ๔ พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
หมวด ๕ พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา
หมวด ๖ พินัยกรรมแบบทำตามกฎหมายต่างประเทศ
หมวด ๗ การทำพินัยกรรมในภาวะการรบหรือการสงคราม
🍮บทที่ ๑๓ ผลและการตีความแห่งพินัยกรรม
หมวด ๑ การเกิดผลบังคับแห่งพินัยกรรม
หมวด ๒ การตีความแห่งพินัยกรรม
🍮บทที่ ๑๔ พินัยกรรมตั้งผู้ปกครองทรัพย์
การก่อตั้งทรัสต์
การตั้งผู้ปกครองทรัพย์โดยพินัยกรรม
🍮บทที่ ๑๕ การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
หมวด ๑ การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรมก่อนผู้ทำพินัยกรรมตาย
หมวด ๒ การเพิกถอนพินัยกรรมหลังผู้ทำพินัยกรรมตาย
หมวด ๓ อายุความฟ้องร้องขอให้เพิกถอนพินัยกรรม
🍮บทที่ ๑๖ การตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
หมวด ๑ เหตุตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
หมวด ๒ การไร้ผลของพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
หมวด ๓ ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
🍮บทที่ ๑๗ วิธีจัดการและปันทรัพย์มรดก
หมวด ๑ ประเภทของผู้จัดการมรดก
หมวด ๒ สิทธิและอำนาจหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
🍮บทที่ ๑๘ การรวบรวมจำหน่ายทรัพย์มรดกและการชำระหนี้กองมรดก
หมวด ๑ การรวบรวมทรัพย์มรดก
หมวด ๒ การจำหน่ายทรัพย์มรดก
หมวด ๓ การชำระหนี้กองมรดก
🍮บทที่ ๑๙ การแบ่งปันทรัพย์มรดก
🍮บทที่ ๒๐ มรดกที่ไม่มีผู้รับ
🍮บทที่ ๒๑ อายุความมรดก
อายุความมรดก
เวลาและอายุความตาม ป.พ.พ. บรรพ ๑ ที่นำมาใช้บังคับ
หมวด ๑ ความหมายของคดีมรดก
หมวด ๒ ประเภทของอายุความมรดก
– อายุความฟ้องคดีมรดกของทายาทโดยธรรม
– อายุความฟ้องเรียกร้องตามข้อกำหนดพินัยกรรมโดยผู้รับพินัยกรรม
– อายุความสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้อันมีต่อเจ้ามรดก
– กรณีที่ไม่อยู่ในบังคับอายุความของมาตรา ๑๗๕๔
– บุคคลที่มีสิทธิยกอายุความตามมาตรา ๑๗๕๔