คำอธิบาย
🍠 ผู้เขียน: ปัญญา ถนอมรอด
🍠 รหัสสินค้า: 9786164041240
บทคัดย่อ/สารบาญ
🍅ยืม
บททั่วไป
๑. เจตนาของคู่สัญญา
๒. ความสามารถในการทำนิติกรรม
๓. วัตถุประสงค์ของนิติกรรม
🍅🍅ยืมใช้คงรูป
บทที่ ๑ ลักษณะของสัญญายืมใช้คงรูป
บทที่ ๒ หน้าที่และความรับผิดของผู้ยืมใช้คงรูป
บทที่ ๓ ความระงับของสัญญายืมใช้คงรูป
บทที่ ๔ อายุความ
🍅🍅ยืมใช้สิ้นเปลือง
บทที่ ๑ ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
บทที่ ๒ หน้าที่ของผู้ยืมใช้สิ้นเปลือง
บทที่ ๓ อายุความ
บทที่ ๔ กู้ยืมเงิน
🍅ค้ำประกัน
บทที่ ๑ ลักษณะของสัญญาค้ำประกัน มาตรา ๖๘๐
บทที่ ๒ สัญญาค้ำประกันไม่มีแบบแต่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
บทที่ ๓ หนี้ที่ค้ำประกันต้องเป็นหนี้อันสมบูรณ์ และข้อตกลงที่กฎหมายบังคับ
บทที่ ๔ ผู้รับเรือน มาตรา ๖๘๒ วรรคหนึ่ง
บทที่ ๕ ผู้ค้ำประกันหลายคน มาตรา ๖๘๒ วรรคสอง
บทที่ ๖ ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน มาตรา ๖๘๓
บทที่ ๗ ผลของสัญญาค้ำประกันก่อนการชำระหนี้
บทที่ ๘ ผลภายหลังการชำระหนี้
บทที่ ๙ ความระงับสิ้นแห่งสัญญาค้ำประกัน
🍅จำนอง
หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
บทที่ ๑ ลักษณะของสัญญาจำนอง มาตรา ๗๐๒
บทที่ ๒ ทรัพย์สินที่จำนอง
บทที่ ๓ ผู้มีสิทธินำทรัพย์สินไปจำนอง
บทที่ ๔ แบบของสัญญาจำนองและข้อความในสัญญาจำนอง
หมวด ๒ สิทธิจำนองครอบเพียงใด
บทที่ ๑ ทรัพย์สินที่จำนองเป็นประกันหนี้อะไรบ้าง มาตรา ๗๑๕
บทที่ ๒ สิทธิจำนองครอบทรัพย์สินซึ่งจำนองเพียงใด
หมวด ๓ สิทธิและหน้าที่ของผู้รับจำนองและผู้จำนอง
บทที่ ๑ สิทธิและหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินซึ่งจำนอง
บทที่ ๒ สิทธิและหน้าที่ของคู่สัญญากรณีจำนองประกันหนี้ของบุคคลอื่น
หมวด ๔ การบังคับจำนอง
บทที่ ๑ การบังคับจำนองโดยฟ้องให้ยึดทรัพย์สินซึ่งจำนองออกขาย
บทที่ ๒ การบังคับจำนองโดยฟ้องเอาทรัพย์สินซึ่งจำนองหลุดเป็นสิทธิ มาตรา ๗๒๙
บทที่ ๓ การบังคับจำนองโดยผู้รับจำนองขายทอดตลาดทรัพย์สินที่จำนอง มาตรา ๗๒๙/๑
บทที่ ๔ การบังคับจำนองกรณีจำนองทรัพย์สินสิ่งเดียวเป็นประกันหนี้หลายราย
บทที่ ๕ การบังคับจำนองกรณีจำนองทรัพย์สินหลายสิ่งเพื่อประกันหนี้รายเดียวและมิได้ระบุลำดับไว้
บทที่ ๖ เมื่อบังคับจำนองแล้วลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดเกินกว่าทรัพย์สินซึ่งจำนอง มาตรา ๗๓๓
บทที่ ๗ ลำดับการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองและเงินที่เหลือ มาตรา ๗๓๒
หมวด ๕ สิทธิและหน้าที่ของผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง
บทที่ ๑ สิทธิของผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง
บทที่ ๒ การบังคับจำนองหรือถอนจำนองเป็นเหตุให้ทรัพย์สินซึ่งจำนองหลุดมือไปจากบุคคลผู้ได้ทรัพย์สินไว้ก่อน มาตรา ๗๔๒
บทที่ ๓ ผู้รับโอนทำให้ทรัพย์ซึ่งจำนองเสื่อมราคาหรือเพิ่มราคา มาตรา ๗๔๓
หมวด ๖ ความระงับสิ้นแห่งสัญญาจำนอง
บทที่ ๑ เหตุที่ทำให้จำนองระงับ มาตรา ๗๔๔
บทที่ ๒ การเปลี่ยนแปลงหรือระงับจำนองต้องจดทะเบียน มาตรา ๗๔๖
🍅จำนำ
หมวด ๑ บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
บทที่ ๑ ลักษณะของสัญญาจำนำ มาตรา ๗๔๗
บทที่ ๒ ทรัพย์สินที่จำนำประกันหนี้อะไรบ้าง มาตรา ๗๔๘
บทที่ ๓ การจำนำสิทธิซึ่งมีตราสาร
บทที่ ๔ ข้อตกลงที่ไม่สมบูรณ์ในสัญญาจำนำ มาตรา ๗๕๖
บทที่ ๕ การนำบทบัญญัติลักษณะจำนำมาใช้แก่กรณีโรงรับจำนำ มาตรา ๗๕๗
หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ของผู้จำนำและผู้รับจำนำ
บทที่ ๑ สิทธิของผู้รับจำนำ
บทที่ ๒ หน้าที่ของผู้รับจำนำ
บทที่ ๓ สิทธิของผู้จำนำ
บทที่ ๔ หน้าที่ของผู้จำนำ
บทที่ ๕ อายุความ มาตรา ๗๖๓
หมวด ๓ การบังคับจำนำ
บทที่ ๑ การบังคับจำนำทรัพย์สินทั่วไป มาตรา ๗๖๔, ๗๖๕
บทที่ ๒ การบังคับจำนำตั๋วเงิน มาตรา ๗๖๖
บทที่ ๓ การบังคับจำนำกรณีจำนำทรัพย์สินหลายสิ่งประกันหนี้รายเดียว มาตรา ๗๖๘
บทที่ ๔ ผลภายหลังการบังคับจำนำ
หมวด ๔ ความระงับสิ้นไปแห่งการจำนำ มาตรา ๗๖๙
📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 18 : เพิ่มเติมคำพิพากษาศาลฎีกาจนถึงปีปัจจุบัน และเรียบเรียงเนื้อหาในบางส่วนขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับกฎหมายที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เป็นปัจจุบัน