คำอธิบาย
ผู้เขียน: อำพน เจริญชีวินทร์ (ตุลาการหัวหน้าคณะศาลปกครองสูงสุด)
รหัสสินค้า: 9789742039509
บทคัดย่อ/สารบัญ
🍨บทที่ ๓ เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง
🔑๑. ความทั่วไป
🔑๒. เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครองตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
๒.๑ การเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดี
๒.๑.๑ ผู้มีสิทธิฟ้องคดีตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง
๒.๑.๒ เกณฑ์การพิจารณาผู้มีสิทธิฟ้องคดีปกครองของศาลปกครองในต่างประเทศ
๒.๑.๓ คุณสมบัติของผู้มีสิทธิฟ้องคดีปกครอง
๒.๑.๔ ผู้มีสิทธิฟ้องคดีแทน
๒.๑.๕ ผู้มีสิทธิฟ้องคดีตามที่กฎหมายกำหนด
๒.๒ การแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายก่อนการฟ้องคดี
๒.๒.๑ คำสั่งทางปกครอง
๒.๒.๒ ปฏิบัติการทางปกครอง
๒.๒.๓ การละเลยต่อหน้าที่ในบางกรณี
๒.๓ การฟ้องคดีภายในระยะเวลาการฟ้องคดี
๒.๓.๑ ระยะเวลาการฟ้องคดีตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
๒.๓.๒ ระยะเวลาการฟ้องคดีที่โอนมาจากศาลยุติธรรม
๒.๓.๓ ระยะเวลาการฟ้องคดีสะดุดหยุดอยู่
๒.๓.๔ การขยายระยะเวลาการฟ้องคดี
๒.๔ การชำระค่าธรรมเนียมศาล
๒.๔.๑ การฟ้องคดีที่ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล
๒.๔.๒ การฟ้องคดีที่ต้องเสียค่าธรรมเนียมศาล
๒.๔.๓ การเสียค่าธรรมเนียมศาล
๒.๔.๔ หลักเกณฑ์การขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
๒.๔.๕ การดำเนินกระบวนพิจารณาคำขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
๒.๕ คำฟ้องต้องไม่เป็นการฟ้องซ้อน การดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำหรือการฟ้องซ้ำ
๒.๕.๑ การฟ้องซ้อน
๒.๕.๒ การดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
๒.๕.๓ การฟ้องซ้ำ
🍨บทที่ ๔ การฟ้องคดีปกครอง
🔑๑. คำฟ้อง
🔑๒. บุคคลหลายคนฟ้องคดี
🔑๓. วิธีการยื่นคำฟ้อง
🔑๔. การยื่นคำฟ้องต่อศาลปกครองชั้นต้น
🔑๕. การยื่นคำฟ้องต่อศาลปกครองสูงสุด
🔑๖. การยื่นคำฟ้องที่มูลคดีมิได้เกิดในราชอาณาจักร
บรรณานุกรม
📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 8 : มีการปรับปรุงในเรื่องดังต่อไปนี้
🎈เรื่องผู้มีสิทธิฟ้องคดี เพิ่มเติมคำพิพากษาและคำสั่งศาลปกครองสูงสุด ซึ่งวางหลักกฎหมายเกี่ยวกับผู้มีสิทธิฟ้องคดีในกรณีที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐละเลยต่อหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควรในการออกกฎและผู้มีสิทธิฟ้องคดีในกรณีอื่น
🎈เรื่องระยะเวลาการฟ้องคดี เพิ่มเติมคำพิพากษาและคำสั่งศาลปกครองสูงสุด ซึ่งวินิจฉัยโดยที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด วางหลักกฎหมายเกี่ยวกับการเริ่มนับระยะเวลาการฟ้องคดีตามมาตรา ๔๙ และเหตุจำเป็นอื่นตามมาตรา ๕๒ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
และมีการแก้ไขเพิ่มเติมในเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องกับเงื่อนไขการฟ้องคดี