คำอธิบาย
📝 ผู้เขียน: ดร.น้ำแท้ มีบุญสล้าง
📖 รหัสสินค้า: 9786165812979
⭐ บทคัดย่อ/สารบัญ ⭐
🔹คำอธิบายพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565
🔹1. วิวัฒนาการแนวความคิดต่อต้านการกระทำทรมานการลงโทษที่ทารุณโหดร้าย ไร้มนุษยธรรม และย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
🔹2. การยุติการทรมานในกระบวนการยุติธรรมตาม Magna Carta 1215, The Bill of Rights of UK 1689 และ French Declaration of Human and Civic Rights 1789
🔹3. หลักสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ (Presumption of Innocence) กับการกระทำทรมาน การกระทำหรือลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
🔹4. Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment 1984
🔹5. International Convention for the Protection of All Persons from Enforced Disappearance (ICPPED) 2010
🔹6. พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565
🔹7. ความผิดฐานกระทำทรมาน
🔹8. ความผิดฐานกระทำการที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
🔹9. ความผิดฐานกระทำให้บุคคลสูญหาย
🔹10. การขยายเขตอำนาจรัฐไปนอกราชอาณาจักรในความผิดสากลที่เป็นอันตรายร้ายแรงต่อรัฐและพลเมือง
🔹11. กฎอัยการศึก ภาวะสงคราม ภัยคุกคาม สถานการณ์ฉุกเฉิน และสภาวะความไม่มั่นคงทางการเมือง
🔹12. การห้ามขับไล่ ส่งกลับ หรือส่งผู้ร้ายข้ามแดน
🔹13. มาตรการฟื้นฟูและเยียวยาด้านร่างกายและจิตใจแก่ผู้เสียหายให้กลับสู่สภาพเดิม
🔹14. การป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย
🔹15. อายุความสำหรับความผิดฐานกระทำให้บุคคลสูญหาย
🔹16. การสืบสวนสอบสวนดำเนินคดี
🔹17. การตรวจสอบหรือกำกับการสอบสวนโดยพนักงานอัยการ
🔹18. อัยการสูงสุดหรือผู้ทำการแทนเป็นผู้ขี้ขาดพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ
🔹19. หากไม่แจ้งการจับทันทีตามมาตรา 22 นับเป็นเหตุการลักพาตัว กระทำให้สูญหาย
🔹20. บทกำหนดโทษ
🔹21. ความรับผิดของผู้บังคับบัญชา
🔹ภาคผนวก