Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คำสอนวิชากฎหมายภาษีอากร

Original price was: ฿ 650.00.Current price is: ฿ 617.50.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 2000 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ศาสตราจารย์พิเศษชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม

รหัสสินค้า

9786164041172

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

1184

พิมพ์ครั้งที่

14 : พฤษภาคม 2566 (แก้ไขเพิ่มเติม)

สินค้าหมดแล้ว

รหัสสินค้า: 9786164041172 หมวดหมู่: , Product ID: 15431

คำอธิบาย

🍨 ผู้เขียน: ศาสตราจารย์พิเศษชัยสิทธิ์ ตราชูธรรม
🍨 รหัสสินค้า: 9786164041172

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
บทนำ

บทที่ ๑ โครงสร้างของกฎหมายภาษีอากร
๑. ส่วนที่ว่าด้วย “ผู้เสียภาษี” 
๒. ส่วนที่ว่าด้วย “ฐานภาษี”
๓. ส่วนที่ว่าด้วย “อัตราภาษี”
๔. ส่วนที่ว่าด้วย “วิธีเสียภาษี”
๕. ส่วนที่ว่าด้วย “วิธีหาข้อยุติในปัญหาภาษีที่เกิดขึ้นหรือวิธีระงับข้อพิพาททางภาษีอากร”
๖. ส่วนที่ว่าด้วย “การบังคับให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายภาษีอากร”

บทที่ ๒ การตีความกฎหมายภาษีอากร
๑. กฎหมายภาษีอากรต้องตีความโดยเคร่งครัด
๒. การตีความกฎหมายภาษีอากรต้องคำนึงถึงเจตนารมณ์ของฝ่ายนิติบัญญัติ

๓. การตีความกฎหมายภาษีอากรต้องคำนึงถึงความเป็นเอกเทศของกฎหมายภาษีอากร
๔. การตีความกฎหมายภาษีอากรไม่ต้องคำนึงถึงหลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งเจตนาเสมอไป
๕. การตีความคำที่กฎหมายภาษีอากรมิได้บัญญัติไว้เป็นพิเศษจะต้องตีความตามความหมายที่เข้าใจกันอยู่ทั่วไปหรือตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องได้บัญญัติไว้
๖. การตีความตามหลักเกณฑ์ที่มีกฎหมายกำหนดไว้โดยเฉพาะ
บทที่ ๓ ผลย้อนหลังของกฎหมายภาษีอากร
๑. ผลย้อนหลังของกฎหมายภาษีอากรเกี่ยวกับการกระทำความผิดทางอาญา
๒. ผลย้อนหลังของกฎหมายภาษีอากรเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากร
บทที่ ๔ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax)
๑. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
๒. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับผู้เสียภาษี (จุดเกาะเกี่ยวระหว่างรัฐกับผู้เสียภาษี)
๓. ฐานภาษี
๔. วิธีเสียภาษี
๕. การอุทธรณ์
บทที่ ๕ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (Corporate Income Tax)
๑. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
๒. ฐานภาษี
๓. วิธีเสียภาษี
๔. การอุทธรณ์
๕. บัญชีภาษีอากร (Tax Accounting)
๖. ภาษีอากรระหว่างประเทศ (International Taxation)
บทที่ ๖ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
๑. กิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
๒. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
๓. กิจการที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
๔. ฐานภาษี

๕. อัตราภาษี
๖. วิธีเสียภาษี
๗. การประเมิน
๘. การอุทธรณ์
บทที่ ๗ ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax)
๑. กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
๒. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
๓. กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ
๔. กิจการเฉพาะอย่างที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
๕. ฐานภาษี
๖. อัตราภาษี
๗. การจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ
๘. การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
๙. การขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ
๑๐. การจัดทำรายงานและการออกใบรับ (Receipts)
๑๑. การประเมิน
๑๒. การอุทธรณ์
บทที่ ๘ การวางแผนภาษีอากร การหนีภาษีอากร และการหลีกภาษีอากร
๑. ความหมายของการวางแผนภาษีอากร (Tax Planning)
๒. ความหมายของการหนีภาษี (Tax Evasion หรือ Tax Dogging)
๓. ความหมายของการหลีกภาษีอากร (Tax Avoidance หรือ Tax Minimization)
๔. ข้อแตกต่างระหว่างการหลีกภาษีอากร (Tax Avoidance) กับการวางแผนภาษีอากร (Tax Planning)
๕. ข้อแตกต่างระหว่างการหนีภาษีอากรกับการหลีกภาษีอากร
๖. วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีอากร
๗. กรณีศึกษา (Case Studies)

บทที่ ๙ มาตรการต่อต้านการหลีกภาษีอากร (Anti-tax Avoidance Measure)
๑. หลักเจตนารมณ์ของกฎหมายสำคัฐกว่ารูปแบบ (Abuse of Law Doctrine หรือ Abuse of Legal From Doctrine)
๒. หลักเนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ (Substance over From Doctrine)
๓. หลักวัตถุประสงค์สุดท้ายเพื่อการหลีกภาษีอากร (Fiscal Nullity Doctrine หรือ Ramsay Principle)
๔. หลักผลลัพธ์สุดท้าย (Step Transaction Doctrine)
๕. หลักการไม่บังคับตามเจตนาลวงของคู่กรณี (Sham Transaction Doctrine)
๖. การบัญญัติกฎหมายต่อต้านการหลีกภาษีอากรที่ยอมรับไม่ได้หรือไม่บริสุทธิ์ (Unacceptable Tax Avoidance หรือ Abusive Tax Avoidance)
๗. ประเทศไทยกับมาตรการต่อต้านการหลีกภาษีอากรที่ไม่บริสุทธิ์

๘. การใช้บทบัญญัติเกี่ยวกับการแสดงเจตนาลวงและนิติกรรมอำพรางต่อต้านการหลีกภาษีอากรที่ยอมรับไม่ได้หรือไม่บริสุทธิ์
๙. มาตรการต่อต้านการหลีกภาษีอากรกรณีแสวงหาสิทธิประโยชน์จากอนุสัญญาภาษีซ้อนของประเทศอื่น (Treaty Shopping)
๑๐. มาตรการต่อต้านการหลีกภาษีอากรกรณีการตั้งบริษัทด้วยทุนจากหุ้นต่ำแต่การก่อหนี้สูง (Thin Capitalization)

บทที่ ๑๐ การดำเนินคดีภาษีอากร
๑. เงื่อนไขการฟ้องคดีภาษีอากร
๒. วิธีฟ้องคดีภาษีอากร
๓. การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีภาษีอากร

ภาคผนวก
๑. บทความเรื่อง “การตีความกฎหมายภาษีอากร ต้องมีความตามตัวอักษรหรือตีความตามเจตนารมณ์”
๒. บทความเรื่อง “การเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสหรัฐอเมริกาตามหลักสัญชาติและหลักถิ่นที่อยู่”
๓. บทความเรื่อง “การเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของสหราชอาณาจักรตามหลักถิ่นที่อยู่และภูมิลำเนา”
๔. บทความเรื่อง “หลักเกณฑ์การพิจารณาสถานที่เกิดแหล่งเงินได้เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา”
๕. บทความเรื่อง “หลักเกณฑ์การพิจารณาความเป็นผู้มีถิ่นที่อยู่ (Resident) เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีเงินได้”
๖. บทความเรื่อง “สาขาต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลแทนสำนักงานใหญ่ในต่างประเทศหรือไม่?”
บรรณานุกรม