Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คำถาม – คำตอบ ปัญหาข้อกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพยานหลักฐาน

Original price was: ฿ 260.00.Current price is: ฿ 247.00.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 530 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์

รหัสสินค้า

9786167657707

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

248

พิมพ์ครั้งที่

มกราคม 2567

สินค้าหมดแล้ว

คำอธิบาย

🍭 ผู้เขียน: ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์
🍭 รหัสสินค้า:
9786167657707

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
๑. คำถาม
  ประวัติเกี่ยวกับการกระทำความผิด ศาลจะนำมารับฟังเพื่อพิสูจน์ว่าจำเลยกระทำความผิดในคดีที่ถูกฟ้องได้หรือไม่

๒. คำถาม คดีฟ้องขอแบ่งที่ดินกรรมสิทธิ์รวม หากจำเลยยอมรับว่าโจทก์เป็นเจ้าของรวม แต่อ้างว่าโจทก์มีส่วนในที่ดินไม่ถึงกึ่งหนึ่ง ฝ่ายใดมีภาระการพิสูจน์ 
๓. คำถาม ความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลจะต้องกระทำต่อหน้าผู้ถูกกล่าวหา จะต้องสอบถามผู้ถูกกล่าวหาเรื่องทนายความ และตั้งทนายความให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือไม่ และทนายความของผู้ถูกกล่าวหาในคดีละเมิดอำนาจศาลมีสิทธิได้รับเงินรางวัลและค่าใช้จ่ายหรือไม่
๔. คำถาม การนำพยานบุคคลมาสืบว่าไม่ได้รับเงินตามสัญญาจำนองที่ระบุว่าให้ถือว่าเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมด้วย ต้องห้ามตามกฎหมายหรือไม่
๕. คำถาม โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยฐานยักยอกทางพิจารณาได้ความว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดฐานฉ้อโกง แต่เป็นความผิดต่อผู้เสียหายต่างคนจากที่โจทก์บรรยายฟ้อง หรือฟ้องว่าทรัพย์ที่ถูกลักเป็นของบุคคลหนึ่งแต่ทางพิจารณาได้ความว่าเป็นของบุคคลอีกคนหนึ่ง จะถือว่าแตกต่างในข้อที่เป็นสาระสำคัญหรือไม่
๖. คำถาม ฟ้องเป็นตัวการร่วมกระทำความผิด ทางพิจารณาได้ความว่าเป็นผู้ใช้ให้กระทำความผิด ศาลจะพิพากษาลงโทษจำเลยได้หรือไม่เพียงใด
๗. คำถาม การจับในที่รโหฐาน โดยไม่ต้องมีหมายจับ หมายค้น ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๘๑, ๙๒ มีตัวอย่างคำพิพากษาฎีกา วินิจฉัยไว้อย่างไร
๘. คำถาม การอุทธรณ์ในปัญญาข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหาแห่งคำฟ้องหรือประเด็นแห่งคดี อยู่ในบังคับข้อห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริงตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๙๓ หรือไม่
๙. คำถาม
สัญญาจ้างเหมาก่อสร้างระบุว่า ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่ทำการแก้ไขหรือเพิ่มเติมหรือลดงานจากแบบรูปและรายละเอียดตามสัญญาได้ โดยกระทำเป็นลายลักษณ์อักษร ผู้รับจ้างจะนำพยานบุคคลมาสืบว่า ผู้ว่าจ้างให้ผู้รับจ้างทำการก่อสร้างเพิ่มเติมจากแบบแปลนเดิมตามที่ตกลงกันไว้ได้หรือไม่
๑๐. คำถาม
ผู้มีชื่อเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดินกับผู้ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์ ฝ่ายใดเป็นฝ่ายที่ได้รับประโยชน์จากข้อสันนิษฐานของกฎหมายว่าเป็นเจ้าของ และภาระการพิสูจน์ตกแก่คู่ความฝ่ายใด
๑๑. คำถาม คดีพิพาทเกี่ยวกับความเป็นเจ้าของที่ดิน ระหว่างผู้ครอบครองที่ดินกับผู้มีชื่อในทะเบียน ภาระการพิสูจน์ตกแก่ฝ่ายใด
๑๒. คำถาม การบวกโทษที่รอการลงโทษไว้ในคดีก่อนเข้ากับโทษในคดีหลัง การขอให้นับโทษจำคุกต่อจากคดีอื่น การขอให้เพิ่มโทษจำเลย โจทก์จะต้องมีคำขอมาในฟ้องหรือไม่ 
๑๓. คำถาม 
ในคดีอาญา คำสั่งศาลชั้นต้นที่ให้รอการไต่สวนมูลฟ้องไว้ก่อนและให้จำหน่ายคดีชั่วคราว โจทก์จะอุทธรณ์คำสั่งดังกล่าวทันทีได้หรือไม่
๑๔. คำถาม
ในคดีอาญา คำสั่งศาลชั้นต้นเกี่ยวกับการขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ฎีกา เป็นคำสั่งระหว่างพิจารณาหรือไม่
๑๕. คำถาม
โจทก์ฟ้องว่า จำเลยปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบด้วยเหตุหนึ่ง แต่ทางพิจารณาได้ว่าจำเลยปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบอีกเหตุหนึ่ง ศาลจะพิพากษาลงโทษตามข้อเท็จจริงที่ได้ความได้หรือไม่
ฯลฯ