คำอธิบาย
🍮 ผู้เขียน: ทัศนีย์ เหลืองเรืองรอง
🍮 รหัสสินค้า: 9786166129274
บทคัดย่อ/สารบัญ
✺ บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร
1. ความหมาย
2. วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีอากร
3. ลักษณะของภาษีอากรที่ดี
4. โครงสร้างกฎหมายภาษีอากร
4.1 ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
4.2 ประเภทภาษีอากร
4.3 ฐานภาษีและอัตราภาษี
4.4 วิธีการเสียภาษี
4.5 ความรับผิดจากการไม่ปฏิบัติตามประมวลรัษฎากร
4.6 ขั้นตอนการขอความเป็นธรรมในคดีภาษีอากร
สรุป ผู้มีหน้าที่เสียภาษี
สรุป การเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร
✺ บทที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1.1 บุคคลธรรมดา
1.2 ผู้ถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี
1.3 กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
1.4 ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
2. เงินได้พึงประเมิน
2.1 ความหมายของเงินได้พึงประเมิน
2.2 การจำแนกประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่ายเครดิตภาษีเงินปันผล
2.3 เงินได้พึงประเมินที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
2.4 เกณฑ์การรับรู้เงินได้พึงประเมินของผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
2.5 แหล่งเงินได้ที่ต้องนำมาเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
2.6 เงินได้ของสามีภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย
3. การหักลดหย่อน
4. การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ตัวอย่างการคำนวณและการตอบคำถาม
5. การยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษี
✺ บทที่ 3 ภาษีเงินได้นิติบุคคล
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
(1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่จดทะเบียนตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
(2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ
(3) กิจการร่วมค้า
(4) มูลนิธิหรือสมาคมที่มิได้เป็นองค์การสาธารณกุศล
(5) กองทุนรวมที่เป็นนิติบุคคลฯ
(6) นิติบุคคลที่อธิบดีกำหนด
2. รอบระยะเวลาบัญชี
3. ฐานภาษี
3.1 ฐานกำไรสุทธิ
3.2 ฐานการจำหน่ายเงินกำไรออกไปจากประเทศไทย
3.3 ฐานเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
3.4 ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่าย
3.5 กรณีให้ถือว่าการที่ได้ส่งสินค้าออกไปต่างประเทศไปนั้นเป็นการขายในประเทศไทย
4. การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ
4.1 เงินได้ที่ต้องนำไปคำนวณกำไรสุทธิ
4.2 การคำนวณรายได้และรายจ่ายให้ใช้เกณฑ์สิทธิ
4.3 เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
4.4 เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)
4.5 อัตราภาษี
4.6 การคำนวณภาษี
4.7 การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
4.8 การประเมินภาษีตามมาตรา 71 (1)
✺ บทที่ 4 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
1. ลักษณะของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
2. กรณีไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
3. ประเภทของภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
3.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย
3.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย
3.3 ให้หักภาษี ณ ที่จ่ายในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี
4. เงินได้ที่สามารถแยกคำนวณต่างหากจากเงินได้อื่น
5. หน้าที่ของผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
✺ บทที่ 5 ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax)
1. กิจการและบุคคลที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
1.1 ผู้ประกอบการขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ
1.2 ผู้นำเข้า
1.3 ผู้ที่กฎหมายกำหนดให้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นกรณีพิเศษ
2. กิจการที่ไม่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
3. อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม
4. การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
5. กำหนดเวลาที่เกิดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
6. ฐานภาษี
7. เอกสารในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม
7.1 รูปแบบของใบกำกับภาษี
7.2 ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษี
7.3 ภาษีขายและภาษีซื้อ
8. การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม การขอคืน และการเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่ม
8.1 การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
8.2 การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มและการเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่ม
9. หน้าที่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
9.1 การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
9.2 เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
9.3 จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มตามที่กฎหมายกำหนด
9.4 ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษี
✺ บทที่ 6 ภาษีธุรกิจเฉพาะ
1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.1 ต้องเป็นบุคคล
1.2 ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
1.3 ประกอบกิจการในราชอาณาจักร
1.4 การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
1.5 กรณีไม่เป็นการประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์
1.6 การให้กู้ยืมเงินที่ไม่ต้องนำดอกเบี้ยมารวมคำนวณเป็นรายรับเพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
2. การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ
3. กิจการที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
4. ฐานภาษีและอัตราภาษี
5. การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
6. หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
✺ บทที่ 7 อากรแสตมป์
1. วิธีการเสียอากร
2. การยกเว้นไม่ต้องเสียอากร
3. บทลงโทษ
บัญชีอัตราอากรแสตมป์
✺ บทที่ 8 ภาษีอากร การโอนอสังหาริมทรัพย์
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
1.1 การโอนอสังหาริมทรัพย์
1.2 ราคาขายอสังหาริมทรัพย์
1.3 วิธีการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากการโอน (ขาย) อสังหาริมทรัพย์
2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ
2.1 การขายอสังหาริมทรัพย์เฉพาะที่ต้องจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
2.2 เป็นการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไรในราชอาณาจักร
2.3 สรุป ภาระภาษีกรณีบุคคลธรรมดาโอนอสังหาริมทรัพย์
3. ภาษีเงินได้นิติบุคคล
4. อากรแสตมป์
✺ ข้อแนะนำการตอบข้อสอบ
บรรณานุกรม
📌การแก้ไข: ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรที่มีการประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2564 ที่สำคัญ ได้แก่
– พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 53) พ.ศ. 2564 การประกอบธุรกิจและการใช้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ และคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 161/2566 ลงวันที่ 15 กันยายน 2566 ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 เป็นต้นไป ได้อธิบายหลักกฎหมายเรื่องแหล่งเงินได้เกิดในต่างประเทศ ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 41 วรรคสอง แตกต่างไปจากเดิม
– เพิ่มแผนภูมิต่างๆ เพื่อช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น
– เพิ่มเติมคำพิพากษาฎีกาและแนวข้อสอบใหม่ๆ เพื่อให้ทันสมัย