คำอธิบาย
✍️ชื่อผู้แต่ง : ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ชาญชัย แสวงศักดิ์
📝รหัสสินค้า : 9786165814164
⚠️Preorder สั่งซื้อล่วงหน้า จัดส่งตามกำหนด⚠️
หากในรายการสั่งซื้อมีหนังสือพรีออเดอร์อยู่ร่วมกับหนังสือปกติ
หนังสือทั้งหมดจะถูกจัดส่งพร้อมกันเมื่อหนังสือพรีออเดอร์ออก
⚖️ สารบาญ ⚖️
🔰 บทที่ 1 ข้อพิจารณาเบื้องต้น : แนวความคิดเกี่ยวกับรัฐ ความเป็นนิติบุคคลของรัฐและนิติบุคคลมหาชน
● ส่วนที่ 1 ระบบกฎหมายที่สำ คัญซึ่งมีอิทธิพลต่อระบบกฎหมายไทย
● ส่วนที่ 2 แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับบุคคลทางกฎหมายและนิติบุคคล
● ส่วนที่ 3 ความเป็นนิติบุคคลของรัฐ
● ส่วนที่ 4 นิติบุคคลมหาชนในต่างประเทศ
● ส่วนที่ 5 แนวความคิดเกี่ยวกับรัฐและนิติบุคคลมหาชนในประเทศไทย
🔰 บทที่ 2 วิวัฒนาการของแนวความคิดว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบ
● ส่วนที่ 1 หลักดั้งเดิม : ประมุขไม่ต้องรับผิดชอบ
● ส่วนที่ 2 หลักต่อมา : ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากเจ้าหน้าที่ได้
โดยเจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชอบเป็นการส่วนตัว
● ส่วนที่ 3 หลักในปัจจุบัน : “ราชบัลลังก์” รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
🔰 บทที่ 3 หลักกฎหมายปกครองว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐในระบบกฎหมายของสาธารณรัฐฝรั่งเศส
● ส่วนที่ 1 เงื่อนไขเกี่ยวกับความรับผิดชอบของรัฐ
● ส่วนที่ 2 ความรับผิดชอบของรัฐโดยมีเหตุจากความผิด
● ส่วนที่ 3 ความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิด
● ส่วนที่ 4 ความรับผิดชอบของรัฐอันเกิดจากการดำ เนินการอื่นของรัฐนอกเหนือจากการใช้อำนาจทางบริหาร
● ส่วนที่ 5 หลักกฎหมายที่ถูกนำมาอ้างเป็นเหตุผลในการให้รัฐรับผิดชอบโดยปราศจากความผิด
● ส่วนที่ 6 การประเมินมูลค่าความเสียหายที่ได้รับ
🔰 บทที่ 4 หลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐในระบบกฎหมายของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
● ส่วนที่ 1 ภาพรวมของหลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐในระบบกฎหมายของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
● ส่วนที่ 2 ความรับผิดชอบของรัฐอันเกิดจากการกระทำของฝ่ายปกครอง
🔰 บทที่ 5 หลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐในระบบกฎหมายของประเทศไทย
● ส่วนที่ 1 หลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
● ส่วนที่ 2 ความพยายามในการสร้างและพัฒนาหลักกฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบของรัฐโดยปราศจากความผิดขึ้นในระบบกฎหมายของประเทศไทย
📌พิมพ์ครั้งที่ 2 : ไม่มีการแก้ไขเพิ่มเติมจากการพิมพ์ครั้งก่อน