คำอธิบาย
🍮 ผู้เขียน: เดชเดโช สุโชตินันท์ (ทนายความ)
🍮 รหัสสินค้า: 9786165939850
บทคัดย่อ/สารบัญ
🥭๑. คำอธิบายพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
● ศัพท์บัญญัติแห่งกฎหมายตามพระราชบัญญัติอาคารชุดฯ (มาตรา ๔)
● การจดทะเบียนอาคารชุด (มาตรา ๖, ๗, ๘, ๙, ๑๐, ๑๑)
● การโฆษณาขายและการทำหนังสือซื้อขายห้องชุดฯ (มาตรา ๖/๑, ๖/๒)
● กรรมสิทธิ์ในห้องชุดทรัพย์ส่วนบุคคล ทรัพย์ส่วนกลาง กรรมสิทธิ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง (มาตรา ๑๒, ๑๓, ๑๔, ๑๕, ๑๖, ๑๗, ๑๗/๑, ๑๘, ๑๘/๑)
● กรรมสิทธิ์ห้องชุดของคนต่างด้าว (มาตรา ๑๙, ๑๙ ทวิ, ๑๙ ตรี, ๑๙ จัตวา, ๑๙ เบญจ, ๑๙ ฉ, ๑๙ สัตต, ๑๙ อัฏฐ, ๑๙ นว, ๑๙ ทศ, ๑๙ เอกาทศ)
ฯลฯ
🥭๒. ระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๕๔
● การจดทะเบียนอาคารชุด
● การออกหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด
● การจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด
● การจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงข้อบังคับ
● การจดทะเบียนผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด
ฯลฯ
เอกสารแนบท้าย
● ตัวอย่างการจดแจ้งในสารบัญของโฉนดที่ดินกรณีเลิกอาคารชุด ตามข้อ ๕๐ (๓)
● คำขอจดทะเบียนอาคารชุด (อ.ช. ๑)
● คำขอจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุดและผู้จัดการนิติบุคคลอาคารชุด (อ.ช. ๓)
● ใบแนบแบบ (อ.ช. ๓)
● คำขอจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงข้อบังคับนิติบุคคลอาคารชุด (อ.ช. ๔)
ฯลฯ
🥭๓. ระเบียบ คำสั่งและประกาศกรมที่ดินและกระทรวงมหาดไทยที่สำคัญเกี่ยวกับพระราชบัญญัติอาคารชุดฯ
● พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๑ พร้อมหัวเรื่อง
● บัญชีท้ายพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวกับความรับผิดในทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๐
● กฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารชุด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙
● คำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๑๙๘/๒๕๕๑ เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
● ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดแบบสัญญาจะซื้อจะขาย และสัญญาซื้อขายห้องชุด ตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒
ฯลฯ
● ตัวอย่างที่ ๑ เจ้าพนักงานบังคับคดีบอกกล่าวให้นิติบุคคลอาคารชุดดำเนินการฯ
● ตัวอย่างที่ ๒ การขอรับเงินจากการขายทอดตลาดจากกรมบังคับคดี
● ตัวอย่างที่ ๓ การขอรับเงินจากการขายทอดตลาดจากกรมบังคับคดี
🥭๔. คำพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติอาคารชุดฯ
🥭๕. ตัวอย่างคดี
● ตัวอย่างคดีที่ ๑ – ผิดข้อบังคับนิติบุคคลอาคารชุด (ไม่ชำระเงินค่าส่วนกลางและเงินเพิ่ม)
● ตัวอย่างคดีที่ ๒ – ผิดข้อบังคับนิติบุคคลอาคารชุด (ไม่ชำระเงินค่าส่วนกลางและเงินเพิ่ม)
● ตัวอย่างคดีที่ ๓ – ผิดสัญญาจ้างบริหารนิติบุคคลอาคารชุด เรียกค่าจ้าง เรียกค่าเสียหาย
● ตัวอย่างคดีที่ ๔ – ผิดสัญญาจ้างบริการทำความสะอาด เรียกค่าจ้าง เรียกค่าเสียหาย
⋆ ตัวอย่างคำให้การ – ผิดสัญญาจ้างบริการทำความสะอาด เรียกค่าจ้าง เรียกค่าเสียหาย
● ตัวอย่างคดีที่ ๕ – ผิดสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด เรียกทรัพย์คืน เรียกค่าเสียหาย
● ตัวอย่างคดีที่ ๖ – ผิดข้อบังคับนิติบุคคลอาคารชุด ละเมิด เรียกค่าเสียหาย
● ตัวอย่างคดีที่ ๗ – ผิดสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด เรียกทรัพย์คืน
● ตัวอย่างคดีที่ ๘ – ร่วมกันยักยอกทรัพย์ของผู้อื่น และยักยอกทรัพย์ของผู้อื่น
● ตัวอย่างคดีที่ ๙ – ผิดสัญญาเช่าทรัพย์ เรียกค่าเสียหาย
ตัวอย่างการทำสัญญาประนีประนอมยอมความ (๒๙)
— กรณีผิดข้อบังคับนิติบุคคลอาคารชุด (ไม่ชำระเงินค่าส่วนกลางและเงินเพิ่ม) —
🥭๖. ฟ้องศาลไหน
● ผู้ที่สามารถฟ้องร้องเป็นคดีผู้บริโภคได้
● การฟ้องคดีผู้บริโภคฟ้องศาลไหน
🥭๗. การจัดเรียงสำนวนคดีเพื่อยื่นแก่ศาลและคู่ความ (คดีผู้บริโภค : ผบ)
● ผังลำดับการจัดสำนวนทนายความโจทก์เพื่อยื่นฟ้องคดีคดีผู้บริโภค
⋆ เอกสารประกอบที่สำคัญในการยื่นคำฟ้องคดีความของนิติบุคคลอาคารชุด
⭑ ตัวอย่างเอกสารท้ายคำฟ้อง – หนังสือมอบอำนาจ กรณีนิติบุคคลเป็นผู้รับจ้างบริหารงาน
⭑ ตัวอย่างเอกสารท้ายคำฟ้อง – หนังสือสำคัญการจดทะเบียนอาคารชุด (อ.ช. ๑๐)
⭑ ตัวอย่างเอกสารท้ายคำฟ้อง – ประกาศพนักงานเจ้าหน้าที่จดทะเบียนอาคารชุด (อ.ช. ๑๑)
⭑ ตัวอย่างเอกสารท้ายคำฟ้อง – สำเนารายการจดทะเบียน (อ.ช. ๑๒)
⭑ ตัวอย่างเอกสารท้ายคำฟ้อง – หนังสือสำคัญการจดทะเบียนนิติบุคคลอาคารชุด (อ.ช. ๑๓)
ฯลฯ
● ผังลำดับการจัดสำนวนทนายความจำเลยเพื่อแก้ต่างคดีผู้บริโภค
● คำแนะนำวิธีปฏิบัติในวันนัดพิจารณาคดีผู้บริโภค
🥭๘. การเสนอค่าวิชาชีพและการบริหารค่าคดีอาคารชุด
● ตัวอย่างที่ ๑ : การออกจดหมายนำเสนอค่าวิชาชีพในการฟ้องร้องคดี (แบบสั้น)
● ตัวอย่างที่ ๒ : การออกจดหมายนำเสนอค่าวิชาชีพในการฟ้องร้องคดี (แบบยาว)
● ตัวอย่างที่ ๓ : การเปรียบเทียบค่าวิชาชีพทนายความและค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี