คำอธิบาย
🍡ผู้รวบรวม: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
🍡รหัสสินค้า: 9786168314081
สารบัญ
บทที่ ๑ จ้างทำของ
๑. ลักษณะของสัญญาจ้างทำของ (มาตรา ๕๘๗)
๒. หน้าที่ของผู้รับจ้าง
๓. สิทธิและหน้าที่ผู้ว่าจ้าง
๔. ความระงับสิ้นของสัญญาจ้างทำของ
๕. การเอางานรับจ้างไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง (มาตรา ๖๐๗)
บทที่ ๒ นิติกรรม สัญญา
๑. การแสดงเจตนา (มาตรา ๑๕๔, ๑๖๘, ๑๖๙, ๑๗๑)
๒. การก่อให้เกิดสัญญา (มาตรา ๓๕๔ – ๓๖๘)
บทที่ ๓ การเลิกสัญญา
๑. สิทธิในการเลิกสัญญา (มาตรา ๓๘๖)
๒. การบอกเลิกสัญญา (มาตรา ๓๘๗)
๓.การบอกเลิกสัญญา (มาตรา ๓๘๘)
๔. เจ้าหนี้บอกเลิกสัญญาเพราะการชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย (มาตรา ๓๘๙)
๕. ผลของการเลิกสัญญา (มาตรา ๓๙๑)
บทที่ ๔ ลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ผิดนัด
๑. กรณีถือว่าลูกหนี้ผิดนัด (มาตรา ๒๐๓, ๒๐๔)
๒. เจ้าหนี้ผิดนัด (มาตรา ๒๐๗, ๒๐๘)
๓. การบังคับชำระหนี้และค่าเสียหาย (มาตรา ๒๑๓)
๔. การชำระหนี้กลายเป็นพ้นวิสัย (มาตรา ๒๑๘, ๒๑๙)
บทที่ ๕ มัดจำ
๑. มัดจำ (มาตรา ๓๗๗)
๒. ผลของการวางมัดจำ (มาตรา ๓๗๘)
บทที่ ๖ เบี้ยปรับ
๑. เบี้ยปรับ (มาตรา ๓๗๙)
๒. ประเภทเบี้ยปรับ (มาตรา ๓๘๐, ๓๘๑)
๓. ข้อตกลงให้ชำระหนี้อย่างอื่นเป็นเบี้ยปรับ (มาตรา ๓๘๒)
๔. อำนาจศาลในการลดเบี้ยปรับที่สูงเกินส่วน (มาตรา ๓๘๓)
บทที่ ๗ ค่าเสียหาย (มาตรา ๒๒๒, ๒๒๓)
๑. ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามปกติจากการไม่ชำระหนี้ (มาตรา ๒๒๒ วรรคหนึ่ง)
๒. ความเสียหายอันเกิดแต่พฤติการณ์พิเศษ (มาตรา ๒๒๒ วรรคสอง)
บทที่ ๘ ตัวแทน
๑. ลักษณะของตัวแทน (มาตรา ๗๙๗)
๒. การตั้งตัวแทน (มาตรา ๗๙๘)
๓. ตัวแทนทั่วไป (มาตรา ๘๐๑)
๔. ตัวแทนกรณีตัวการไม่เปิดเผยชื่อ (มาตรา ๘๐๖)
๕. ความรับผิดของตัวแทนต่อตัวการ (มาตรา ๘๑๒)
๖. ความรับผิดของตัวการต่อบุคคลภายนอก (มาตรา ๘๒๐)
๗. ตัวแทนเชิด (มาตรา ๘๒๑)
๘. ตัวแทนทำเกินขอบอำนาจ (มาตรา ๘๒๒)
๙. ตัวแทนกระทำการโดยปราศจากอำนาจฯ และการให้สัตยาบัน (มาตรา ๘๒๓)
๑๐. ความระงับของสัญญาตัวแทน (มาตรา ๘๒๖ – ๘๓๒)
ภาคผนวก
๑. ค่าพิพากษาศาลฎีกาที่สำคัญและข้อสังเกต
๒. พระราชบัญญัติ ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔
คำพิพากษาศาลฎีกาที่สำคัญ
ตัวอย่าง คำฟ้อง คำให้การ อุทธรณ์ และคำแก้อุทธรณ์
คดีสัญญาจ้างที่ปรึกษาการตลาดออนไลน์
บรรณานุกรม
📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 2 : เพิ่มคำพิพากษาศาลฎีกาล่าสุด