คำอธิบาย
🍭 ผู้เขียน: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พรรณรายรัตน์ ศรีไชยรัตน์
🍭 รหัสสินค้า: 9786162691140
บทคัดย่อ/สารบาญ
🍩 บทที่ 1 บทนำ
ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
ขอบเขตของโครงการวิจัย
ทฤษฎี สมมุติฐาน และกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย
วิธีการดำเนินการวิจัย และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล
🍩 บทที่ 2 การศึกษากฎหมาย
การศึกษากฎหมายในประเทศ Common Law
(ก) การศึกษากฎหมายในประเทศสหรัฐอเมริกา
(ข) การศึกษากฎหมายในประเทศอังกฤษ
การศึกษากฎหมายในประเทศที่ใช้ระบบ Civil Law
(ก) การศึกษากฎหมายในประเทศเยอรมนี
(ข) การศึกษากฎหมายในประเทศฝรั่งเศส
(ค) การศึกษากฎหมายในประเทศญี่ปุ่น
เป้าหมายและพันธะกิจของโรงเรียนกฎหมาย
ปัญหาของการศึกษากฎหมาย
ทักษะและคติหรือคุณค่าที่พึงสอนในโรงเรียนกฎหมาย
(ก) ทักษะ
(ข) คติ (values)
🍩 บทที่ 3 การศึกษากฎหมายเชิงคลินิก
ประวัติความเป็นมาของการศึกษากฎหมายเชิงคลินิก
ลักษณะของการศึกษากฎหมายเชิงคลินิก
เป้าหมายและพันธะกิจของการศึกษากฎหมายเชิงคลินิก
ระเบียบวิธีการศึกษากฎหมายเชิงคลินิก
คลินิกให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายและคลินิกให้การศึกษากฎหมายแก่ชุมชน
(ก) คลินิกให้คำปรึกษาและให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย
ก) รูปแบบคลินิกให้คำปรึกษาและให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย
ข) ระเบียบวิธีการศึกษา
(ข) คลินิกให้การศึกษากฎหมายแก่ชุมชน
ก) ประวัติความเป็นมาและลักษณะเบื้องต้น
ข) ระเบียบวิธีการศึกษา
ผลการศึกษากฎหมายเชิงคลินิก
🍩 บทที่ 4 การศึกษากฎหมายและการศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศจีน
ระบบกฎหมายจีนยุคปัจจุบัน
การศึกษากฎหมายในประเทศจีน
หลักสูตรการศึกษากฎหมายในประเทศจีน
วิธีการสอนกฎหมายในประเทศจีน
การศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศจีน
ก. ประวัติความเป็นมา
ข. เป้าหมายการศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศจีน
ค. วิธีการสอนกฎหมายเชิงคลินิกในประเทศจีน
ง. มูลเหตุจูงใจของนักศึกษาในการเรียนกฎหมายเชิงคลินิก
จ. ผลการศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศจีน
ความสำเร็จของการศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศจีน
ปัญหาการศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศจีน
สรุปผลการสัมภาษณ์
🍩 บทที่ 5 การศึกษากฎหมายและการศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศไทย
การศึกษากฎหมายในประเทศไทย
การควบคุมการศึกษากฎหมายในประเทศไทย
ก. การควบคุมโดยกระทรวงศึกษาธิการ
ข. การควบคุมโดยองค์กรผู้ประกอบวิชาชีพ
การฝึกทักษะในการประกอบวิชาชีพและการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพ
ก. สถาบันการศึกษา
ข. องค์กรผู้ประกอบวิชาชีพ
ปัญหาการศึกษากฎหมายและการศึกษากฎหมายเชิงคลินิกในประเทศไทย
🍩 บทที่ 6 บทสรุป วิเคราะห์ และเสนอแนะ
บรรณานุกรม