คำอธิบาย
🍮 ผู้เขียน: รองศาสตราจารย์ ดร. นิรมัย พิศแข มั่นจิตร
🍮 รหัสสินค้า: 9786164880825
บทคัดย่อ/สารบาญ
🍪ส่วนที่ 1 สิทธิในสุขภาพและสิทธิที่สำคัญของผู้ป่วย : ข้อเรียกร้องในฐานะผู้รับบริการ
ข้อความเบื้องต้น
🌭บทที่ 1 ข้อความคิดทั่วไปว่าด้วยสิทธิในสุขภาพ
1. แนวคิดพื้นฐานว่าด้วยสิทธิในสุขภาพ
2. การรับรองสิทธิในสุขภาพ
🌭บทที่ 2 สิทธิของผู้ป่วยก่อนเข้ารับบริการด้านสุขภาพ
1. สิทธิเข้าถึงการรักษา
2. สิทธิเข้าถึงและรับรู้ข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการ
3. สิทธิให้ความยินยอมและเลือกวิธิการรักษา
4. สิทธิปฏิเสธการรักษา
5. สิทธิได้รับการคุ้มครองจากการถูกทดลองในงานวิจัย
🌭บทที่ 3 สิทธิของผู้ป่วยในระหว่างและหลังรับบริการด้านสุขภาพ
1. สิทธิได้รับการเคารพในชีวิตและร่างกาย
2. สิทธิได้รับบริการที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
3. สิทธิได้รับการรักษาอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
4. สิทธิได้รับความคุ้มครองและเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพ
5. สิทธิในวาระสุดท้ายของชีวิต
บทสรุป
🍪ส่วนที่ 2 การจัดทำบริการทางด้านสุขภาพ : ภารกิจในฐานะผู้ให้บริการ
ข้อความเบื้องต้น
🌭บทที่ 4 นโยบายและการจัดทำบริการสาธารณะทางด้านสุขภาพ
1. นโยบายทางด้านสุขภาพ
2. การจัดทำบริการสาธารณะโดยหน่วยงานภาครัฐตามแนวนโยบายทางด้านสุขภาพ
🌭บทที่ 5 หลักการพื้นฐานในการจัดทำบริการสาธารณะด้านสุขภาพ
1. ข้อความคิดว่าด้วยบริการสาธารณะ
2. หลักในการจัดทำบริการสาธารณะทางด้านสุขภาพ
🌭บทที่ 6 หน่วยงานสำคัญภาครัฐที่จัดทำบริการสาธารณะด้านสุขภาพ : ภารกิจของรัฐในฐานะผู้ให้บริการหลัก
1. หน่วยงานหลักที่มีภารกิจด้านการกำหนดนโยบายและการให้บริการโดยทั่วไป
2. หน่วยงานหลักที่มีภารกิจด้านการรักษาพยาบาล : สถานพยาบาลของรัฐ
3. หน่วยงานหลักที่มีภารกิจด้านการประกันสุขภาพ
4.หน่วยงานหลักที่มีภารกิจด้านการวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ
5. หน่วยงานหลักที่มีภารกิจด้านการกำกับดูแล ควบคุม และตรวจสอบ
🌭บทที่ 7 หน่วยงานสำคัญภาคเอกชนที่จัดทำบริการด้านสุขภาพ : ภารกิจของเอกชนในฐานะผู้ให้บริการเสริม
1. หน่วยงานหลักที่มีภารกิจด้านการรักษาพยาบาล : สถานพยาบาลเอกชน
2. หน่วยงานสำคัญที่มีภารกิจด้านการป้องกัน ส่งเสริม และคุ้มครองสุขภาพ
🌭บทที่ 8 หน่วยงานสำคัญที่มีภารกิจด้านการควบคุมและตรวจสอบ : องค์กรวิชาชีพด้านสุขภาพ
1. แพทยสภา
2. สภาเภสัชกรรม
3. สภาการพยาบาล
บทสรุป
บรรณานุกรม
ดัชนี