คำอธิบาย
🍂 ผู้เขียน: เอื้อน ขุนแก้ว
🍂 รหัสสินค้า: 9786166046298
บทคัดย่อ/สารบัญ
❄ ส่วนที่ ๑ : กระบวนพิจารณาหลัก
บทที่ ๑ การฟ้องขอให้ล้มละลายและการสั่งพิทักษ์ทรัพย์
๑.๑ บททั่วไป
๑.๒ ความหมาย
๑.๓ วัตถุประสงค์ของกฎหมายล้มละลาย
๑.๔ การบริหารจัดการคดีล้มละลาย
๑.๕ ภาพรวมของคดีล้มละลาย
๑.๖ แผนผังกระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย
๑.๗ มูลเหตุการฟ้องคดีล้มละลาย
๑.๘ ศาลที่มีอำนาจพิจารณา
๑.๙ หลักเกณฑ์ในการฟ้องขอให้ล้มละลาย
๑.๑๐ กระบวนพิจารณาในชั้นศาล
๑.๑๑ การพิจารณาคดี
บทที่ ๒ คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
๒.๑ คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราว
๒.๒ คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
๒.๓ การนำมูลหนี้ตามคำพิพากษามาฟ้องคดีล้มละลาย
๒.๔ การฟ้องให้หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดล้มละลาย
๒.๕ การพิจารณาคดี
๒.๖ การขอถอนฟ้อง
๒.๗ ขอบเขตการบังคับของคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
บทที่ ๓ ผลของคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
๓.๑ ผลต้อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
๓.๒ ผลต่อลูกหนี้
๓.๓ ผลต่อเจ้าหนี้
๓.๔ ผลต่อกฎหมายอื่น ๆ
บทที่ ๔ การประชุมเจ้าหนี้
๔.๑ การประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก
๔.๒ การประชุมเจ้าหนี้ครั้งอื่น
๔.๓ การขอให้ศาลทำลายมติที่ประชุมเจ้าหนี้
บทที่ ๕ การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
๕.๑ การยื่นคำขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
๕.๒ ผลของคำสั่งเห็นชอบกับคำขอประนอมหนี้
๕.๓ การยกเลิกการประนอมหนี้
๕.๔ การไต่สวนลูกหนี้โดยเปิดเผย
บทที่ ๖ คำพิพากษาให้ล้มละลาย
๖.๑ การพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย
๖.๒ การเริ่มต้นการล้มละลาย
บทที่ ๗ การประนอมหนี้ภายหลังล้มละลาย
บทที่ ๘ การปลดจากล้มละลาย
๘.๑ ศาลมีคำสั่งปลดจากล้มละลาย
๘.๒ การพ้นจากล้มละลายโดยผลของกฎหมาย
๘.๓ ผลของการปลดจากล้มละลาย
บทที่ ๙ กระบวนพิจารณาคดีล้มละลายกรณีลูกหนี้ตาย
บทที่ ๑๐ กระบวนพิจารณาในกรณีที่ลูกหนี้เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือนิติบุคคลอื่น
๑๐.๑ ผู้ชำระบัญชีร้องขอให้นิติบุคคลล้มละลาย
๑๐.๒ การขอให้หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดล้มละลายตามห้าง
❄ ส่วนที่ ๒ : การขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
บทที่ ๑๑ การขอรับชำระหนี้
๑๑.๑ การยื่นคำขอรับชำระหนี้
๑๑.๒ หนี้ที่อาจขอรับชำระหนี้ได้
๑๑.๓ การขอรับชำระหนี้ของบุคคลที่อาจใช้สิทธิไล่เบี้ย
๑๑.๔ สิทธิของเจ้าหนี้มีประกัน
๑๑.๕ กระบวนพิจารณาคำขอรับชำระหนี้
๑๑.๖ การแก้ไขคำสั่งที่สั่งไปโดยผิดหลง
๑๑.๗ การขอกันส่วน
๑๑.๘ การโอนสิทธิเรียกร้อง
๑๑.๙ การหักกลบลบหนี้
บทที่ ๑๒ หนี้ที่ไม่อาจขอรับชำระหนี้ได้
๑๒.๑ หนี้ที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
๑๒.๒ หนี้ที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
๑๒.๓ ผลของการสิ้นสุดคดีล้มละลาย
❄ ส่วนที่ ๓ : การจัดการทรัพย์สิน
บทที่ ๑๓ ทรัพย์สินอันอาจแบ่งได้ในคดีล้มละลาย
บทที่ ๑๔ ผลของการล้มละลายเกี่ยวกับกิจการที่ได้กระทำไปแล้ว
๑๔.๑ ผลของคำสั่งศาลที่ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ไว้ชั่วคราวหรือหมายบังคับคดี
๑๔.๒ การขอเพิกถอนการฉ้อฉล
๑๔.๓ การเพิกถอนการชำระหนี้อันเป็นการให้เปรียบ
๑๔.๔ การขอให้เพิกถอนนิติกรรมที่เป็นโมฆะ
บทที่ ๑๕ การรวมรวบและจำหน่ายทรัพย์สิน
บทที่ ๑๖ การแบ่งทรัพย์สิน
บทที่ ๑๗ การยกเลิกการล้มละลาย
บทที่ ๑๘ การคัดค้านการกระทำหรือคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
บทที่ ๑๙ การร้องขัดทรัพย์
บทที่ ๒๐ เรื่องอื่น ๆ
๒๐.๑ การปิดคดี
๒๐.๒ กรรมการเจ้าหนี้
๒๐.๓ การโฆษณาทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์แทนการโฆษณาทางหนังสือพิมพ์
๒๐.๔ เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์
๒๐.๕ การขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้ต่างประเทศ
๒๐.๖ ค่าธรรมเนียม
๒๐.๗ การปรับใช้กฎหมายในคดีล้มละลาย
❄ ส่วนที่ ๔ : ภาคผนวก
๑. คำถามประกอบการทบทวน
๑. การฟ้องขอให้ล้มละลาย
๒. ผลของคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
๓. การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
๔. การขอรับชำระหนี้
๕. การขอรับชำระหนี้ในสิทธิไล่เบี้ย
๖. การเพิกถอนการโอน
๗. การทวงหนี้
๘. การไม่ยอมรับทรัพย์สินหรือสิทธิตามสัญญา
๙. การปลดจากล้มละลาย
๑๐. การยกเลิกการล้มละลาย
๑๑. คำถามหลายประเด็น
๒. พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๓ เฉพาะส่วนคดีล้มละลาย (แก้ไขสมบูรณ์)
๓. พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
๔. พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
๕. พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
๖. พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 18 : มีการปรับปรุงเนื้อหา แนวความคิดต่าง ๆ ให้ทันสมัยเป็นปัจจุบัน