Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

กฎหมายระหว่างประเทศ

Original price was: ฿ 450.00.Current price is: ฿ 427.50.

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 920 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ศาสตราจารย์จันตรี สินศุภฤกษ์

รหัสสินค้า

9789742039684

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

548

พิมพ์ครั้งที่

6 : กันยายน 2567

มีสินค้าอยู่ 5

รหัสสินค้า: 9789742039684 หมวดหมู่: , Product ID: 11118

คำอธิบาย

🍃 ผู้เขียน: ศาสตราจารย์จันตรี สินศุภฤกษ์
🍃 รหัสสินค้า: 9789742039684

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
บทที่ 1 ลักษณะและวิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศในระบบระหว่างประเทศ

1. วิวัฒนาการและโครงสร้างของสังคมระหว่างประเทศกับกฎหมายระหว่างประเทศ

2. กฎหมายาระหว่างประเทศกับกระบวนการนิติบัญญัติหรือการสร้างกฎหมาย
3. สภาพบังคับและประสิทธิภาพของกฎหมายระหว่างประเทศ
4. บทบาทของกฎหมายระหว่างประเทศกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
บทที่ 2 แหล่งกำเนิดหรือที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศ
1. มาตรา 38 แห่งธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ

2. สนธิสัญญา
3. กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
4. หลักกฎหมายทั่วไป
5. คำตัดสินของศาล
6. หลักคำสอนของผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศ
7. แหล่งกำเนิดหรือที่มาของกฎหมายระหว่างประเทศที่มิได้บัญญัติไว้ในธรรมนูญศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
บทที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน
1. ทฤษฎีว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายระหว่างประเทศกับกฎหมายภายใน

2. หลักเกณฑ์และทางปฏิบัติของประเทศไทยเกี่ยวกับการนำกฎหมายระหว่างประเทศมาใช้บังคับ
บทที่ 4 บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
1. แนวคิดเกี่ยวกับสภาพบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ

2. บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ
บทที่ 5 การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐ
1. การได้มาซึ่งดินแดนโดยการใช้อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดน

2. การได้มาซึ่งดินแดนโดยการค้นพบ
3. การได้มาซึ่งดินแดนเนื่องจากการเพิ่มพูนหรือการงอกเงยขึ้นของแผ่นดิน
4. การได้มาซึ่งดินแดนจากการยกให้จากรัฐอื่นและโดยสนธิสัญญา
5. การได้มาซึ่งดินแดนโดยการใช้กำลัง – การรบชนะ
6. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐโดยใช้หลักการยอมรับโดยนิ่งเฉยหรือการยอมรับโดยไม่มีข้อโต้แย้งและการถูกตัดบทหรือหลักกฎหมายปิดปาก
7. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐโดยคำตัดสินของศาล
8. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เรียกว่า Uti Possidetis
9. การได้มาซึ่งดินแดนของรัฐโดยหลักการกำหนดใจตนเอง
บทที่ 6 เขตอำนาจรัฐ
1. หลักทั่วไปของเขตอำนาจรัฐ

2. มูลฐานของเขตอำนาจรัฐ
บทที่ 7 กฎหมายสนธิสัญญา
1. วิวัฒนาการและหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายสนธิสัญญา

2. ขอบเขตของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969
3. คำนิยามของสนธิสัญญาตามอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ค.ศ. 1969
4. ประเภทของสนธิสัญญา
5. คำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสนธิสัญญา
6. กระบวนการทำสนธิสัญญา
บทที่ 8 กฎหมายทะเล
1. วิวัฒนาการของกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล

2. ที่มาของกฎหมายทะเล
3. เขตทางทะเล
4. ลักษณะภูมิสัณฐานต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในทะเล
5. การระงับข้อพิพาทภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982
บทที่ 9 กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตและกงสุล
1. กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการฑูต
2. กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล
บทที่ 10 ความคุ้มกันของรัฐ
1. แนวความคิดและหลักเกณฑ์เรื่องความคุ้มกันของรัฐ
2. วิวัฒนาการของแนวความคิดและหลักเกณฑ์เรื่องความคุ้มกันของรัฐ
3. หลักความคุ้มกันของรัฐตามกฎหมายภายในรัฐต่าง ๆ
4. หลักความคุ้มกันของรัฐตามกฎหมายระหว่างประเทศ : อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยความคุ้มกันของรัฐและทรัพย์สินของรัฐจากเขตอำนาจศาล ค.ศ. 2004
5. หลักความคุ้มกันของรัฐกับการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ

บทที่ 11 ความรับผิดชอบของรัฐ
ส่วนที่ 1
ความรับผิดชอบของรัฐอันเกิดจากการกระทำความผิดในทางระหว่างประเทศ

1. การกระทำความผิดของรัฐในทางระหว่างประเทศ
2. ผลทางกฎหมายที่ตามมาจากการกระทำความผิดในทางระหว่างประเทศ
3. การดำเนินการให้รัฐต้องรับผิดชอบในทางระหว่างประเทศ
ส่วนที่ 2 การปฏิบัติต่อคนต่างด้าว
1. การปฏิบัติต่อคนต่างด้าวอย่างไม่เหมาะสมที่ก่อให้เกิดความรับผิดชอบ
2. มาตรฐานการปฏิบัติต่อคนต่างด้าว
3. มาตรการและเงื่อนไขการเรียกร้องให้รับผิดชอบระหว่างประเทศในกรณีที่เอกชนซึ่งเป็นคนชาติของรัฐได้รับความเสียหาย
บทที่ 12 การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี
1. ข้อพิจารณาเบื้องต้น : ความหมายและลักษณะของ “ข้อพิพาท” พันธกรณีทั่วไปในการระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธีและวิธีการในการระงับข้อพิพาทอย่างสันติ

2. การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศทางการเมืองหรือทางการทูต
3. การระงับข้อพิพาททางการศาล
4. การระงับข้อพิพาทโดยองค์การระหว่างประเทศ
บทที่ 13 การใช้กำลัง
1. วิวัฒนาการและพัฒนาการในทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับหลักกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้กำลังฝ่ายเดียว

2. การใช้กำลังฝ่ายเดียวของรัฐ
3. การใช้กำลังโดยองค์การระหว่างประเทศ : การใช้กำลังร่วมกันหรือความมั่นคงร่วมกัน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
– United Nations Security Council Resolution 1970 (2011)
– United Nations Security Council Resolution 1973 (2011)

 

📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 6 : ไม่มีการเพิ่มเติมเนื้อหา