คำอธิบาย
🍡 ผู้เขียน: นิลุบล เลิศนุวัฒน์
🍡 รหัสสินค้า: 9786164884540
บทคัดย่อ/สารบัญ
🪶บทที่ 1 บททั่วไป
1.1 ลักษณะของการประกันการชำระหนี้
1.2 ลักษณะทั่วไปของการค้ำประกัน
1.3 ประวัติและที่มาของกฎหมายค้ำประกันของไทย
1.4 การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยค้ำประกัน
1.4.1 ที่มาและแนวคิดของการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย
1.4.2 ผลของการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย
1.5 ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ค้ำประกัน
🪶บทที่ 2 ลักษณะของการค้ำประกัน
2.1 ลักษณะของสัญญาค้ำประกัน
2.1.1 สัญญาค้ำประกันเป็นสัญญาระหว่างเจ้าหนี้และบุคคลภายนอก
2.1.2 สัญญาค้ำประกันมีขึ้นเพื่อประโยชน์แก่หนี้อีกราย
2.1.3 ผู้ค้ำประกันผูกพันตนต่อเจ้าหนี้ว่าจะชำระหนี้เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระ
2.1.4 สัญญาค้ำประกันเป็นสัญญาฝ่ายเดียวที่อาจมีหรือไม่มีค่าตอบแทน
2.1.5 สัญญาค้ำประกันเป็นสัญญาที่ไม่มีแบบแต่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
2.1.6 การค้ำประกันในทางแพ่งกับการค้ำประกันในทางอาญา
2.2 หนี้ที่ประกัน
2.2.1 หนี้ที่สมบูรณ์
2.2.2 หนี้ที่สมบูรณ์จนกว่าจะบอกล้าง
2.2.3 หนี้ในอนาคต
2.3 ผู้ค้ำประกันหลายคน
🪶บทที่ 3 ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
3.1 ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
3.1.1 ผู้ค้ำประกันมีความรับผิดอย่างไม่จำกัด
3.1.2 ผู้ค้ำประกันมีความรับผิดอย่างจำกัด
3.2 ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันในหนี้ในอนาคตและหนี้ที่มีเงื่อนไข
3.3 ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกันในหนี้ที่มีลักษณะเฉพาะ
3.3.1 สัญญากู้เบิกเงินเกินบัญชี
3.3.2 สัญญารับทุน
3.3.3 สัญญาจ้างแรงงาน
3.4 ความรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียม
3.5 ผู้ค้ำประกันหลายคน
🪶บทที่ 4 การเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้
4.1 เหตุแห่งการผิดนัดของลูกหนี้
4.2 การเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้
4.2.1 วิธีเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้
4.2.2 ผลของการไม่ดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนด
4.2.3 การเข้าชำระหนี้ของผู้ค้ำประกัน
4.2.4 การตกลงให้แตกต่างจากกฎหมาย
4.3 อายุความในการฟ้องร้องผู้ค้ำประกัน
🪶บทที่ 5 ผลก่อนการชำระหนี้: สิทธิเกี่ยง
5.1 ลักษณะของสิทธิเกี่ยง
5.2 สิทธิในการขอให้เจ้าหนี้ไปเรียกให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อน
5.3 สิทธิขอให้เจ้าหนี้ไปบังคับเอากับทรัพย์สินของลูกหนี้ก่อน
5.4 สิทธิในการขอให้เจ้าหนี้ไปบังคับเอากับทรัพย์ของลูกหนี้ที่เจ้าหนี้ยึดไว้เป็นประกัน
5.5 ผู้ค้ำประกันตกลงรับผิดอย่างเดียวกับลูกหนี้ร่วมหรือในฐานะลูกหนี้ร่วม
🪶บทที่ 6 ผลก่อนการชำระหนี้: ข้อต่อสู้
6.1 ลักษณะของข้อต่อสู้
6.2 ข้อต่อสู้ของผู้ค้ำประกัน
6.2.1 ข้อต่อสู้ที่มีเหตุจากการแสดงเจตนาของผู้ค้ำประกัน
6.2.2 ข้อต่อสู้ที่มีเหตุมาจากสัญญาค้ำประกัน
6.2.3 ข้อต่อสู้ที่เกิดจากการกระทำของเจ้าหนี้
6.3 ข้อต่อสู้ของลูกหนี้
6.3.1 ข้อต่อสู้ที่มีเหตุจากตัวลูกหนี้
6.3.2 ข้อต่อสู้ที่มีเหตุมาจากสัญญาประธาน
6.4 อายุความและข้อต่อสู้
6.4.1 อายุความสะดุดหยุดลง
6.4.2 หนี้ประธานขาดอายุความ
6.4.3 ลูกหนี้สละประโยชน์แห่งอายุความ
6.5 ผู้ค้ำประกันหลายคน
6.5.1 ข้อต่อสู้ที่เป็นเหตุในลักษณะคดี
6.5.2 ข้อต่อสู้ที่เป็นเรื่องเฉพาะตัว
🪶บทที่ 7 ผลภายหลังการชำระหนี้
7.1 ความรับผิดของลูกหนี้ต่อผู้ค้ำประกัน
7.1.1 สิทธิในการไล่เบี้ย
7.1.2 สิทธิในการรับช่วงสิทธิ
7.1.3 อายุความ
7.1.4 ข้อยกเว้นความรับผิดของลูกหนี้
7.2 ความรับผิดของลูกหนี้ต่อเจ้าหนี้
7.3 ความรับผิดในระหว่างกันของผู้ค้ำประกันหลายคน
7.4 ความรับผิดในระหว่างผู้ค้ำประกันกับผู้เข้าประกันหนี้รายอื่น
🪶บทที่ 8 การหลุดพ้นจากความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
8.1 หนี้ประธานระงับ
8.2 ผู้ค้ำประกันบอกเลิกการค้ำประกัน
8.2.1 การบอกเลิกโดยอาศัยข้อสัญญา
8.2.2 การบอกเลิกโดยอาศัยข้อกฎหมาย
8.3 เจ้าหนี้ยอมผ่อนเวลาให้ลูกหนี้
8.4 เจ้าหนี้ปฏิเสธไม่รับชำระหนี้
8.5 ผู้ค้ำประกันถึงแก่ความตาย
8.6 ลูกหนี้ตกเป็นคนล้มละลาย
8.7 สัญญาค้ำประกันระงับ
🪶บทที่ 9 การปรับปรุงโครงสร้างหนี้และความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
9.1 แนวคิดและที่มาของการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย
9.2 ลักษณะของการปรับปรุงโครงสร้างหนี้
9.3 ผลของข้อตกลงปรับปรุงโครงสร้างหนี้ต่อสัญญาค้ำประกัน
9.3.1 ผลผูกพันผู้ค้ำประกัน
9.3.2 การผ่อนเวลาชำระหนี้
9.4 การบอกกล่าวแก่ผู้ค้ำประกัน
9.5 กรอบความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
9.5.1 ลูกหนี้ชำระหนี้ตามสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้จนครบถ้วน
9.5.2 ลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ตามสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ได้
9.5.3 ข้อตกลงยอมรับผิดในหนี้ส่วนที่ไม่อาจเรียกเอากับลูกหนี้
9.6 ความรับผิดของผู้ค้ำประกันตามความตกลงที่มีอยู่ก่อนการปรับปรุงโครงสร้างหนี้
9.6.1 การบอกกล่าวแก่ผู้ค้ำประกัน
9.6.2 กรอบความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
บรรณานุกรม
ดัชนี
🪶การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 3 : มีการแก้ไข ปรับปรุง และเพิ่มเติมเนื้อหาบางส่วนให้ทันสมัยและครบถ้วน โดยเฉพาะการเพิ่มเติมคำพิพากษาศาลฎีกาที่วินิจฉัยตามกฎหมายค้ำประกันที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม