Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

กฎหมายบริษัทมหาชนจำกัด

฿ 370.50

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 920 กรัม
ขนาด 26 × 18.6 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

นิลุบล เลิศนุวัฒน์

รหัสสินค้า

9786164883949

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

430

พิมพ์ครั้งที่

1 : มิถุนายน 2566

มีสินค้าอยู่ 1

รหัสสินค้า: 9786164883949 หมวดหมู่: , Product ID: 33320

รายละเอียดเพิ่มเติม

🍧 ผู้เขียน: นิลุบล เลิศนุวัฒน์
🍧 รหัสสินค้า: 9786164883949

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
🍧บทที่ 1 บททั่วไป
1.1 รูปแบบองค์กรธุรกิจ
1.1.1 องค์กรธุรกิจที่ไม่มีสภาพความเป็นนิติบุคคล
1.1.2 องค์กรธุรกิจที่มีสภาพความเป็นนิติบุคคล
1.2 บริษัท

1.3 พัฒนาการของกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด
🍧บทที่ 2 ลักษณะและการจัดตั้งบริษัท
2.1 ลักษณะของบริษัท

2.2 ขั้นตอนการจัดตั้งบริษัท
2.2.1 ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทจัดทำหนังสือบริคณห์สนธิ
2.2.2 ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทยื่นขอจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ
2.2.3 ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทเสนอขายหุ้นต่อประชาชนหรือบุคคลใด
2.2.4 ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทนัดผู้จองหุ้นเพื่อประชุมจัดตั้งบริษัท
2.2.5 คณะกรรมการเรียกเก็บเงินค่าหุ้นจากผู้จองหุ้น

2.2.6 คณะกรรมการทำคำขอจดทะเบียนตั้งบริษัท
2.2.7 ผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทถึงแก่ความตายหรือถอนตัว
2.3 ผลของการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท
2.4 การอ้างยันข้อความที่ต้องจดทะเบียน
🍧บทที่ 3 ทุน
3.1 แหล่งเงินทุนของบริษัท
3.1.1 เงินทุนในส่วนทุน

3.1.2 เงินทุนในส่วนหนี้
3.2 ลักษณะของหุ้น
3.2.1 มูลค่าหุ้น

3.2.2 ประเภทของหุ้น
3.2.3 ใบหุ้น
3.2.4 บุคคลหลายครถือหุ้นร่วมกัน
3.2.5 ทะเบียนผู้ถือหุ้น
3.3 การโอนหุ้น
3.3.1 การโอนหุ้นโดยนิติกรรม

3.3.2 การโอนหุ้นโดยผลของกฎหมาย
3.4 เงินปันผล
3.4.1 เงื่อนไขในการจ่ายเงินปันผล
3.4.2 วิธีการจ่ายเงินปันผล
3.4.3 การจ่ายเงินปันผลเป็นหุ้น
3.4.4 การจ่ายเงินปันผลโดยมิชอบ
3.5 ทุนสำรอง
3.5.1 ประเภทของทุนสำรอง

3.5.2 การใช้ทุนสำรอง
3.6 การเพิ่มทุน
3.6.1 วิธีการเพิ่มทุน

3.6.2 เงื่อนไขในการเพิ่มทุน
3.6.3 การจำหน่ายหุ้นที่เพิ่ม
3.7 การลดทุน
3.7.1 การจัดสรรทุนที่ลด

3.7.2 วิธีการลดทุน
3.7.3 ขั้นตอนการลดทุน
3.7.4 การลดทุนเพื่อนำทุนที่ลดมาชดเชยผลขาดทุนสะสม
3.7.5 การลดทุนโดยการตัดหุ้น
3.8 การธำรงไว้ซึ่งทุนของบริษัท
3.8.1 ห้ามมิให้บริษัทเสนอขายหุ้นต่ำกว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียน

3.8.2 ห้ามมิให้บริษัทจ่ายเงินปันผลจากเงินอื่นนอกจากเงินกำไร
3.8.3 ห้ามมิให้หักกลบลบหนี้เงินค่าหุ้นกับบริษัท

3.8.4 ห้ามมิให้บริษัทเป็นเจ้าของหุ้นของตนเอง
3.8.5 ห้ามมิให้บริษัทรับจำนำหุ้นของตนเอง
3.8.6 ห้ามมิให้บริษัทลดทุน
🍧บทที่ 4 ผู้ถือหุ้นและที่ประชุมผู้ถือหุ้น
4.1 การบริหารจัดการของบริษัท

4.2 สิทธิของผู้ถือหุ้น
4.2.1 สิทธิเหนือตัวหุ้น
4.2.2 สิทธิในเงินลงทุน
4.2.3 สิทธิในการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการบริษัท
4.2.4 สิทธิในการรักษาไว้ซึ่งสัดส่วนในการถือหุ้น

4.3 หน้าที่ของผู้ถือหุ้น
4.3.1 หน้าที่ของผู้ถือหุ้นที่มีต่อบริษัท
4.3.2 หน้าที่ของผู้ถือหุ้นที่มีต่อเจ้าหนี้
4.3.3 หน้าที่ของผู้ถือหุ้นต่อผู้ถือหุ้นอื่น

4.4 ที่ประชุมผู้ถือหุ้น
4.4.1 ลักษณะและอำนาจของที่ประชุมผู้ถือหุ้น

4.4.2 ประเภทของการประชุมผู้ถือหุ้น
4.4.3 ผู้มีอำนาจเรียกประชุมผู้ถือหุ้น
4.4.4 การเรียกประชุมผู้ถือหุ้น
4.4.5 ผู้มีสิทธิเข้าประชุม
4.4.6 องค์ประชุม
4.4.7 ประธานในที่ประชุม
4.4.8 วาระการประชุม
4.4.9 การออกเสียง
4.4.10 มติของที่ประชุม
4.4.11 ผลของมติและการเพิกถอนมติ
4.4.12 การจัดประชุมผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
🍧บทที่ 5 กรรมการ
5.1 ลักษณะทั่วไปของคณะกรรมการ

5.2 ประเภทของกรรมการ
5.2.1 กรรมการที่เป็นผู้บริหาร

5.2.2 กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร
5.3 การกระทำการของกรรมการ
5.3.1 กรรมการที่มีความบกพร่องในเรื่ององค์คุณหรือการแต่งตั้งกรรมการกระทำโดยไม่ชอบ

5.3.2 กรรมการกระทำการเกินขอบอำนาจที่บริษัทมอบหมายให้เป็นการภายใน
5.3.3 กรรมการกระทำการเกินขอบอำนาจของตนอันปรากฏในข้อบังคับของบริษัท
5.3.4 กรรมการกระทำการนอกขอบวัตถุประสงค์ของบริษัท
5.4 จำนวนกรรมการใยคณะกรรมการ
5.5 คุณสมบัติของผู้เป็นกรรมการ
5.6 การเลือกตั้งกรรมการ
5.6.1 การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเลือกตั้งเป็นกรรมการ

5.6.2 วิธีการเลือกตั้ง
5.7 ค่าตอบแทนของกรรมการ
5.8 ที่ประชุมคณะกรรมการ
5.8.1 การเรียกประชุม

5.8.2 องค์ประชุม
5.8.3 ประธานในที่ประชุม
5.8.4 การลงคะแนนเสียงและมติ
5.8.5 ผลของมติและการเพิกถอนมติ
5.8.6 การจัดประชุมผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
5.9 การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการ
5.9.1 เหตุแห่งการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการ

5.9.2 ผลของการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการ
🍧บทที่ 6 อำนาจ หน้าที่และความรับผิดของกรรมการ
6.1 อำนาจของกรรมการ
6.1.1 การใช้อำนาจของกรรมการ

6.1.2 การมอบอำนาจและการมอบหมาย
6.2 หน้าที่ของกรรมการ
6.2.1 หลักทั่วไป

6.2.2 หน้าที่ต้องใช้ความระมัดระวังในการจัดการงาน
6.2.3 หน้าที่ต้องจัดการงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
6.2.4 หน้าที่โดยเฉพาะเจาะจง
6.3 ความรับผิดทางแพ่งของกรรมการ
6.3.1 ความรับผิดของกรรมการที่มีต่อบริษัท
6.3.2 ความรับผิดของกรรมการที่มีต่อผู้จองหุ้นหรือผู้ถือหุ้น
6.3.3 ความรับผิดของกรรมการที่มีต่อบุคคลภายนอก

6.4 ความรับผิดทางอาญาของกรรมการ
6.4.1 ความรับผิดทางอาญาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของกรรมการ

6.4.2 ความรับผิดทางอาญาจากการกระทำของกรรมการอันเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
6.5 การควบคุมดูแลการดำเนินกิจการของบริษัท
6.5.1 การตรวจสอบการดำเนินกิจการโดยผู้ถือหุ้น

6.5.2 การตรวจสอบการดำเนินกิจการโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ
🍧บทที่ 7 การควบบริษัท
7.1 ลักษณะทั่วไปของการควบบริษัท

7.2 ขั้นตอนการควบบริษัท
7.3 ผลของการควบบริษัท
7.4 การควบรวมกิจการในกรณีอื่น
🍧บทที่ 8 การแปรสภาพบริษัท
8.1 การแปรสภาพจากบริษัทจำกัดเป็นบริษัทมหาชนจำกัด

8.2 การแปรสภาพจากบริษัทมหาชนจำกัดเป็นบริษัทจำกัด
🍧บทที่ 9 การเลิกบริษัทและการชำระบัญชี
9.1 เหตุแห่งการเลิกบริษัท

9.2 ผลของการเลิกบริษัท
9.3 การชำระบัญชี
9.3.1 การแต่งตั้งผู้ชำระบัญชีและผู้สอบบัญชี
9.3.2 การพ้นจากตำแหน่งของผู้ชำระบัญชีและผู้สอบบัญชี
9.3.3 อำนาจของผู้ชำระบัญชี
9.3.4 หน้าที่ของผู้ชำระบัญชี
9.3.5 การจัดสรรทรัพย์สินของบริษัท
9.3.6 ระยะเวลาในการชำระบัญชี
9.3.7 การดำเนินการภายหลังการชำระบัญชี

บรรณานุกรม
ดัชนี