Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คู่มือการเพิกถอนนิติกรรมคดีแพ่ง

฿ 617.50

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 1200 กรัม
ขนาด 26 × 18 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่

รหัสสินค้า

9789742039004

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

752

พิมพ์ครั้งที่

2 : กุมภาพันธ์ 2566 (แก้ไขเพิ่มเติม)

มีสินค้าอยู่ 2

รหัสสินค้า: 9789742039004 หมวดหมู่: , Product ID: 46261

รายละเอียดเพิ่มเติม

🍨 ผู้เขียน: สมศักดิ์ เอี่ยมพลับใหญ่
🍨 รหัสสินค้า:
9789742039004

 

บทคัดย่อ/สารบาญ
บทที่ ๑ การแสดงเจตนา
๑. การแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งอยู่เฉพาะหน้า (มาตรา ๑๖๘)

๒. การแสดงเจตนาต่อบุคคลซึ่งมิได้อยู่เฉพาะหน้า (มาตรา ๑๖๙)
๓. ผลการแสดงเจตนา
๔. การแสดงเจตนาต่อผู้เยาว์หรือผู้ไร้ความสามารถ (มาตรา ๑๗๐)
๕. การแสดงเจตนาที่ทำเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ ๒ การเพิกถอนนิติกรรมที่เป็นโมฆะ
๑. การแสดงเจตนาซ่อนเร้น (มาตรา ๑๕๔)

๒. การแสดงเจตนาลวง (มาตรา ๑๕๕ วรรคหนึ่ง)
๓. การแสดงเจตนาอำพราง (มาตรา ๑๕๕ วรรคสอง)
๔. ความสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม (มาตรา ๑๕๖)
๕. ความเสียเปล่าแห่งโมฆะกรรม (มาตรา ๑๗๒-๑๗๔)
บทที่ ๓ การเพิกถอนนิติกรรมที่เป็นโมฆียะ
๑. ความสำคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย์สิน (มาตรา ๑๕๗)

๒. นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยกลฉ้อฉล (มาตรา ๑๕๙-๑๖๓)
๓. การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่ (มาตรา ๑๖๔-๑๖๖)
๔. หลักในการวินิจฉัยกรณีเกี่ยวกับความสำคัญผิด กลฉ้อฉล หรือการข่มขู่ (มาตรา ๑๖๗)
๕. ความสำคัญผิดเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (มาตรา ๑๕๘)
๖. โมฆียกรรมอาจถูกบอกล้างได้ (มาตรา ๑๗๕-๑๘๑)
๗. โมฆียกรรมอาจให้สัตยาบันได้ (มาตรา ๑๗๗-๑๘๐)
๘. กำหนดเวลาบอกล้างโมฆียกรรม (มาตรา ๑๘๑)
๙. นิติกรรมที่ไม่มีผลตามกฎหมาย
บทที่ ๔ การเพิกถอนการฉ้อฉล
๑. หลักเกณฑ์การเพิกถอนการฉ้อฉล (มาตรา ๒๓๗)

๒. ผลของการเพิกถอนการฉ้อฉล
๓. อายุความการเพิกถอนการฉ้อฉล (มาตรา ๒๔๐)
๔. การเพิกถอนนิติกรรมในกรณีอื่น ๆ
บทที่ ๕ การเพิกถอนการจดทะเบียนโอนอสังหาริมทรัพย์
๑. ผู้อยู่ในฐานะอันจะให้จดทะเบียนสิทธิได้อยู่ก่อน (มาตรา ๑๓๐๐)

๒. ผู้ที่ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์โดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม (มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง)
๓. การเพิกถอนตามมาตรา ๒๓๗ กับมาตรา ๑๓๐๐
บทที่ ๖ การถอนคืนการให้
๑. การถอนคืนการให้ (มาตรา ๕๓๑)

๒. ข้อยกเว้นการให้ที่ถอนคืนไม่ได้ (มาตรา ๕๓๕)
บทที่ ๗ การเพิกถอนนิติกรรมเกี่ยวกับการจัดการสินสมรส
๑. การจัดการสินสมรส (มาตรา ๑๔๗๖, ๑๔๗๗)

๒. การจัดการสินสมรสที่ไม่ต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรส (มาตรา ๑๔๗๖ วรรคสาม)
๓. การฟ้องคดีหรือต่อสู้คดีเกี่ยวกับสินสมรส (มาตรา ๑๔๗๗)

๔. การฟ้องขอให้เพิกถอนนิติกรรมที่ฝ่าฝืนมาตรา ๑๔๗๖ (มาตรา ๑๔๘๐)
บทที่ ๘ การถอนผู้จัดการมรดก (มาตรา ๑๗๒๗)
บทที่ ๙ แนวทางการเตรียมพยานหลักฐานและวิธีการนำสืบข้อเท็จจริง
ภาคผนวก
๑. ตัวอย่าง คำฟ้อง
คำให้การ อุทธรณ์ คำแก้อุทธรณ์
– เพิกถอนนิติกรรม
– เพิกถอนการฉ้อฉล
บรรณานุกรม