Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คำอธิบายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาค ๓ อุทธรณ์และฎีกา

฿ 266.00

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 870 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

ศาสตราจารย์พิเศษอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ

รหัสสินค้า

9786164041257

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

426

พิมพ์ครั้งที่

3 : มีนาคม 2567

มีสินค้าอยู่ 3

รายละเอียดเพิ่มเติม

🍠 ผู้เขียน: ศาสตราจารย์พิเศษอรรถนิติ ดิษฐอำนาจ
🍠 รหัสสินค้า: 9786164041257

 

บทคัดย่อ/สารบาญ
🍂อุทธรณ์ฎีกา
ความเข้าใจเบื้องต้นและข้อสังเกตทั่วไปเกี่ยวกับลักษณะอุทธรณ์-ฎีกา
🍂อุทธรณ์
อุทธรณ์เป็นสิทธิและต้องเป็นไปตามลำดับชั้นศาล
ข้อจำกัดสิทธิในการอุทธรณ์
ข้อต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ (มาตรา ๒๒๔ – ๒๒๖)
ข้อที่ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อเท็จจริงตามราคาทรัพย์สิน หรือจำนวนทุนทรัพย์ (มาตรา ๒๒๔)
ข้อที่ต้องห้ามมิให้อุทธรณ์ในข้อที่มิได้ยกขึ้นว่ากันมาในศาลชั้นต้น (มาตรา ๒๒๕)
คำสั่งระหว่างพิจารณาและการอุทธรณ์คำสั่งระหว่างพิจารณา (มาตรา ๒๒๖)
คำสั่งที่ไม่ถือว่าเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา (มาตรา ๒๒๗ และ ๒๒๘)
🍂การทุเลาการบังคับ
🍂คำฟ้องอุทธรณ์
🍂การตรวจและสั่งคำฟ้องอุทธรณ์ (มาตรา ๒๓๒)
การวางเงินค่าฤชาธรรมเนียมเพิ่ม (มาตรา ๒๓๓)
การอุทธรณ์คำสั่งของศาลชั้นต้นที่ไม่รับอุทธรณ์ (มาตรา ๒๓๔)
การพิจารณาชี้ขาดคำร้องอุทธรณ์คำสั่งที่ไม่รับอุทธรณ์ (มาตรา ๒๓๖)
การส่งสำเนาอุทธรณ์แก่คู่ความอีกฝ่ายและการรวบรวมถ้อยคำสำนวนส่งศาลอุทธรณ์ (มาตรา ๒๓๕)
การยื่นคำแก้อุทธรณ์ (มาตรา ๒๓๗)
การถอนอุทธรณ์
การพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์ (มาตรา ๒๓๘ – ๒๔๓)
การอ่านคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ (มาตรา ๒๔๔)
ผลของคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
การนำบทบัญญัติว่าด้วยการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในศาลชั้นต้นมาใช้ในศาลอุทธรณ์ (มาตรา ๒๔๖)
🍂ฎีกา (มาตรา ๒๔๗)
การขออนุญาตฎีกา
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพ่ง พ.ศ. ๒๕๕๘
ลักษณะ ๒ ฎีกา ตามกฎหมายที่ถูกยกเลิกไปแล้ว