Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

คำอธิบายกฎหมายวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค

฿ 380.00

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 970 กรัม
ขนาด 26 × 18.5 เซนติเมตร
ผู้เขียน/ผู้เรียบเรียง

ศาสตราจารย์พิเศษไพโรจน์ วายุภาพ

รหัสสินค้า

9786166086898

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

496

พิมพ์ครั้งที่

5 : มกราคม 2567 (ปรับปรุงใหม่)

มีสินค้าอยู่ 1

รหัสสินค้า: 9786166086898 หมวดหมู่: , Product ID: 23219

รายละเอียดเพิ่มเติม

🍭ผู้เขียน/ผู้เรียบเรียง: ศาสตราจารย์พิเศษไพโรจน์ วายุภาพ
🍭รหัสสินค้า: 9786166086898

 

สารบัญ
▪︎ ข้อความเบื้องต้น

๑. ความเป็นมา
๒. กฎหมายที่ใช้บังคับแก่กระบวนพิจารณาคดีผู้บริโภค (ม.๗)
๓. ลักษณะของวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
๔. เจ้าพนักงานคดี (ม.๔)
▪︎ บทที่ ๑ บททั่วไป
๑. หลักฐานเป็นหนังสือและแบบของนิติกรรม (ม.๑๐, ม.๑๑)
๒. มาตรฐานทางการค้า (ม.๑๒)
๓. อายุความ (ม.๑๓)
ส่วนที่ ๑
ความหมายของ “คดีผู้บริโภค” (ม.๓, ๒๑)
ส่วนที่ ๒ การวินิจฉัยชี้ขาดลักษณะคดี (ม.๘)
ส่วนที่ ๓ อำนาจฟ้องในคดีผู้บริโภค
ส่วนที่ ๔ เขตอำนาจศาล
ส่วนที่ ๕ กระบวนพิจารณาของคู่ความที่ผิดระเบียบ (ม.๙)
ส่วนที่ ๖ การย่นหรือขยายระยะเวลา (ม.๑๕)
ส่วนที่ ๗ การส่งคำคู่ความหรือเอกสาร (ม.๑๖)
▪︎ บทที่ ๒ วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภคในศาลชั้นต้น
๑. ค่าฤชาธรรมเนียม (ม.๑๘)
๒. การสืบพยานหลักฐานไว้ก่อน (ม.๒๒, ม.๒๓)
หมวด ๑ การฟ้องคดี
ส่วนที่ ๑ การบรรยายฟ้อง (ม.๒๐)
ส่วนที่ ๒ การยื่นฟ้อง
ส่วนที่ ๓ การสั่งฟ้อง
ส่วนที่ ๔ การถอนฟ้องหรือประนีประนอมยอมความ (ม.๑๙ วรรคสอง)
หมวด ๒ การพิจารณาคดี
ส่วนที่ ๑ กระบวนพิจารณาในวันนัดพิจารณา (ม.๒๔)
ส่วนที่ ๒ การพิจารณากรณีขาดนัด (ม.๒๗)
ส่วนที่ ๓ การไม่มาศาลในวันนัดอื่นที่มิใช่วันนัดพิจารณา (ม.๒๘)
ส่วนที่ ๔ การสืบพยาน
หมวด ๓ คำพิพากษาและคำสั่งชี้ขาดตัดสินคดี (ม.๓๘)
▪︎ บทที่ ๓ อุทธรณ์ (ม.๔๖)
ส่วนที่ ๑ ข้อจำกัดสิทธิอุทธรณ์
ส่วนที่ ๒ ห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง (ม.๔๗)
ส่วนที่ ๓ การยื่นอุทธรณ์ (ม.๔๖)
ส่วนที่ ๔ การสั่งอุทธรณ์
ส่วนที่ ๕ คำแก้อุทธรณ์
ส่วนที่ ๖ การพิจารณาและพิพากษาคดี (ม.๔๙)
▪︎ บทที่ ๔ ฎีกา
ส่วนที่ ๑ การขออนุญาตฎีกา
ส่วนที่ ๒ การสั่งฎีกา
ส่วนที่ ๓ คำแก้ฎีกา
ส่วนที่ ๔ การพิจารณาและพิพากษาคดี
▪︎ บทที่ ๕ วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
ส่วนที่ ๑ วิธีการชั่วคราวก่อนฟ้องคดี (ม.๕๖)
ส่วนที่ ๒ วิธีคุ้มครองชั่วคราวหลังฟ้องคดี (ม.๖๓)
▪︎ บทที่ ๖ การบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
๑. การออกหมายบังคับคดีไปทันที (ม.๖๔)
๒. การออกคำสั่งเพื่อแก้ไขข้อขัดข้องในการบังคับคดี (ม.๖๕)
ภาคผนวก

 

📌การแก้ไขพิมพ์ครั้งที่ 5 : ปรับปรุงเนื้อหาโดยแบ่งหัวข้อใหม่ และเพิ่มเติมคำพิพากษาฎีกาซึ่งจัดพิมพ์โดยเนติบัณฑิตยสภา ถึงปี ๒๕๖๖ ตอน ๖ กับเพิ่มเติมข้อสอบในการสอบเพื่อบรรจุเป็นข้าราชการตุลาการในตำแหน่งผู้ช่วยผู้พิพากษาให้เป็นปัจจุบัน