Skip to content Skip to footer
ลดราคา!

กฎหมายอาญา : คำพิพากษาศาลฎีกาและหลักกฎหมาย

฿ 237.50

ข้อมูลเพิ่มเติม

น้ำหนัก 450 กรัม
ขนาด 22.8 × 17 เซนติเมตร
ผู้เขียน/เรียบเรียงโดย

สหรัฐ กิติ ศุภการ

รหัสสินค้า

9786165777230

รูปแบบ

หนังสือ

ปกหนังสือ

ปกอ่อน

จำนวนหน้า

272

พิมพ์ครั้งที่

1 : 2564

สินค้าหมดแล้ว

รหัสสินค้า: 9786165777230 หมวดหมู่: , Product ID: 45427

รายละเอียดเพิ่มเติม

🍭 ผู้เขียน: สหรัฐ กิติ ศุภการ
🍭 รหัสสินค้า: 9786165777230

 

บทคัดย่อ/สารบัญ
– คำนิยาม มาตรา ๑ (๑), (๒), (๕), (๑๖)

– การรับโทษทางอาญา, กฎหมายยกเลิกความผิด มาตรา ๒
– กฎหมายแตกต่างกัน ใช้กฎหมายในส่วนที่เป็นคุณ มาตรา ๓
– ส่วนหนึ่งส่วนใดกระทำลงในราชอาณาจักร, ผลเกิดในราชอาณาจักร มาตรา ๕
– กระทำความผิดนอกราชอาณาจักร ต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร มาตรา ๘
– การนับโทษ, การหักวันคุมขัง มาตรา ๒๒
– เจ้าของที่แท้จริงขอคืนของกลางที่ศาลสั่งริบ มาตรา ๓๖
– การกักกันตัว มาตรา ๔๑
– รอการลงโทษหรือรอการกำหนดโทษ มาตรา ๕๖
– การบวกโทษ มาตรา ๕๘
– เจตนา ประมาท งดเว้น มาตรา ๕๙
– กระทำโดยพลาด มาตรา ๖๐
– สำคัญผิดในตัวบุคคล มาตรา ๖๑
– สำคัญผิดในข้อเท็จจริง มาตรา ๖๒
– ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย มาตรา ๖๘
– ป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ มาตรา ๖๙
– กระทำผิดระหว่างสามีภริยา ผู้บุพการีผู้สืบสันดาน มาตรา ๗๑
– บันดาลโทสะ มาตรา ๗๒
– พยายามกระทำความผิด มาตรา ๘๐
– พยายามกระทำความผิดที่ไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่แท้ มาตรา ๘๑
– ตัวการ มาตรา ๘๓
– ผู้ใช้ มาตรา ๘๔
– ผู้สนับสนุน มาตรา ๘๖
– กรรมเดียวหลายบท มาตรา ๙๐
– เพิ่มโทษ มาตรา ๙๒, ๙๓
– อายุความฟ้องคดี มาตรา ๙๕
– อายุความร้องทุกข์ มาตรา ๙๖
– ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน มาตรา ๑๓๖
– แจ้งความเท็จแก่เจ้าพนักงาน มาตรา ๑๓๗
– ข่มขืนใจเจ้าพนักงาน มาตรา ๑๓๙
– ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงานหรือข่มขืนใจเจ้าพนักงานโดยมีเหตุฉกรรจ์ มาตรา ๑๔๐
– คนกลางเรียกหรือรับสินบน มาตรา ๑๔๓
– ให้สินบนเจ้าพนักงาน มาตรา ๑๔๔
– แสดงตนเป็นเจ้าพนักงาน มาตรา ๑๔๕
– เจ้าพนักงานยักยอกทรัพย์ มาตรา ๑๔๗
– เจ้าพนักงานเรียกหรือรับสินบน มาตรา ๑๔๙
– เจ้าพนักงานใช้อำนาจในตำแหน่งโดยทุจริต มาตรา ๑๕๑
– ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริต มาตรา ๑๕๗
– เจ้าพนักงานปลอมเอกสาร มาตรา ๑๖๑
– เจ้าพนักงานทำเอกสารเท็จ มาตรา ๑๖๒
– แจ้งความเท็จว่าได้มีการกระทำความผิด มาตรา ๑๗๓
– ฟ้องเท็จ มาตรา ๑๗๕
– เบิกความเท็จ มาตรา ๑๗๗
– ทำให้เสียหายหรือทำลายเอกสารของผู้อื่น มาตรา ๑๘๘
– หลบหนีการคุมขัง มาตรา ๑๙๐
– ลอบฝัง ซ่อนเร้น ย้ายหรือทำลายศพ มาตรา ๑๙๙
– ปลอมเอกสาร มาตรา ๒๖๔
– ปลอมเอกสารราชการ มาตรา ๒๖๕ (ปลอมหนังสือเดินทาง มาตรา ๒๖๙/๘)
– กระทำชำเราเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี มาตรา ๒๗๗
– กระทำอนาจาร มาตรา ๒๗๘
– กระทำอนาจารเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี มาตรา ๒๗๙
– กระทำอนาจารโดยมีเหตุฉกรรจ์ มาตรา ๒๘๐
– พาเด็กหรือบุคคลไปเพื่อการอนาจาร มาตรา ๒๘๓ ทวิ
– เหตุฉกรรจ์ มาตรา ๒๘๕
– ฆ่าผู้อื่น มาตรา ๒๘๘
– ฆ่าผู้อื่นโดยมีเหตุฉกรรจ์ มาตรา ๒๘๙
– ฆ่าผู้อื่นโดยไม่เจตนา มาตรา ๒๙๐
– ประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย มาตรา ๒๙๑
– ชุลมุนต่อสู้ มาตรา ๒๙๔, ๒๙๙
– ทำร้ายร่างกายอันตรายสาหัส มาตรา ๒๙๗
– ทำร้ายร่างกายสาหัสโดยมีเหตุฉกรรจ์ มาตรา ๒๙๘
– ความผิดต่อเสรีภาพ, ข่มขืนใจผู้อื่น มาตรา ๓๐๙
– หน่วงเหนี่ยวหรือกักขังฯ มาตรา ๓๑๐
– หน่วงเหนี่ยวกักขังให้ผู้อื่นกระทำการใด มาตรา ๓๑๐ ทวิ
– เรียกค่าไถ่ มาตรา ๓๑๓
– พรากเด็ก, พรากผู้เยาว์ มาตรา ๓๑๗, ๓๑๘, ๓๑๙
– หมิ่นประมาท มาตรา ๓๒๖
– หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา มาตรา ๓๒๘
– บทยกเว้นความผิด มาตรา ๓๒๙
– คำสั่งศาล มาตรา ๓๓๒
– ความผิดอันยอมความได้ มาตรา ๓๓๓
– ลักทรัพย์ มาตรา ๓๓๔
– วิ่งราวทรัพย์ มาตรา ๓๓๖
– เหตุฉกรรจ์ มาตรา ๓๓๖ ทวิ
– กรรโชก มาตรา ๓๓๗
– รีดเอาทรัพย์ มาตรา ๓๓๘
– ชิงทรัพย์ มาตรา ๓๓๙
– ฉ้อโกง มาตรา ๓๔๑
– ฉ้อโกงโดยมีเหตุฉกรรจ์ มาตรา ๓๔๒
– ฉ้อโกงประชาชน มาตรา ๓๔๓
– โกงเจ้าหนี้ มาตรา ๓๕๐
– ยักยอก มาตรา ๓๕๗
– กระทำผิดหน้าที่โดยทุจริต มาตรา ๓๕๓
– รับของโจร มาตรา ๓๕๗
– ทำให้เสียทรัพย์ มาตรา ๓๕๘
– บุกรุก มาตรา ๓๖๒, ๓๖๔, ๓๖๕
– ใช้กำลังทำร้ายโดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายฯ มาตรา ๓๙๑
– ดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้าหรือด้วยการโฆษณา มาตรา ๓๙๓
– รังแก ข่มเหง คุกคาม ฯลฯ ก่อความเดือดร้อนรำคาญ มาตรา ๓๙๗
คำถามท้ายเล่ม

ส่งสินค้าฟรีเมื่อสั่งซื้อครบ 1,000 บาท

ส่งสินค้าฟรีเมื่อสั่งซื้อครบ 1,000 บาท

บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด

จำหน่าย หนังสือกฎหมาย ประมวลกฎหมาย ตำรากฎหมาย คำอธิบายกฎหมาย

Winyuchon Publication House © 2024. All Rights Reserved.